223
การแก้ไข
บรรทัดที่ 59: | บรรทัดที่ 59: | ||
|} | |} | ||
== พันธุ์กับโซนพื้นที่ปลูก<ref>อนุสรณ์ สัจจะประภา. 2558. การศึกษาแนวทางการปฏิบัติที่ดีเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.</ref> == | == '''พันธุ์กับโซนพื้นที่ปลูก'''<ref>อนุสรณ์ สัจจะประภา. 2558. การศึกษาแนวทางการปฏิบัติที่ดีเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.</ref> == | ||
การเลือกพันธุ์มันสำปะหลังให้เหมาะกับพื้นที่ปลูกเป็นการลดต้นทุนการผลิต เนื่องจากไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการบำรุงและดูแลรักษาเพื่อปรับสภาพพื้นที่ปลูกให้เหมาะกับชนิดของพันธุ์นั้นๆ โดยการวางแผนผลิตมันสำปะหลังตามการแบ่งเขตการผลิตนิเวศน์เกษตรของกรมพัฒนาที่ดินได้แบ่งเขตการผลิตเป็น 7 เขต '''ดังตารางที่ 2''' | การเลือกพันธุ์มันสำปะหลังให้เหมาะกับพื้นที่ปลูกเป็นการลดต้นทุนการผลิต เนื่องจากไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการบำรุงและดูแลรักษาเพื่อปรับสภาพพื้นที่ปลูกให้เหมาะกับชนิดของพันธุ์นั้นๆ โดยการวางแผนผลิตมันสำปะหลังตามการแบ่งเขตการผลิตนิเวศน์เกษตรของกรมพัฒนาที่ดินได้แบ่งเขตการผลิตเป็น 7 เขต '''ดังตารางที่ 2''' | ||
บรรทัดที่ 216: | บรรทัดที่ 216: | ||
''หมายเหตุ'' * มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 7 เมื่อปลูกปลายฤดูฝนและต้นฤดูฝน มีปริมาณแป้งในหัวสด ผลผลิตหัวสด ผลผลิตแป้ง และผลผลิตมันเส้นที่สูงกว่าพันธุ์อื่นๆ | ''หมายเหตุ'' * มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 7 เมื่อปลูกปลายฤดูฝนและต้นฤดูฝน มีปริมาณแป้งในหัวสด ผลผลิตหัวสด ผลผลิตแป้ง และผลผลิตมันเส้นที่สูงกว่าพันธุ์อื่นๆ | ||
== พันธุ์กับอายุเก็บเกี่ยว == | == '''พันธุ์กับอายุเก็บเกี่ยว''' == | ||
มันสำปะหลังเป็นพืชอายุยาวสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อใดก็ได้ แต่โดยปกติจะมีการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังมากในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม โดยเก็บเกี่ยวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - เดือนมีนาคมมากที่สุด ส่วนช่วงต้นฝนและกลางฝน (เมษายน - ตุลาคม) มีการเก็บเกี่ยวน้อยมาก อายุของมันสำปะหลังที่เกษตรกรทำการเก็บเกี่ยวมีอายุ 8 – 12 เดือน โดยเก็บเกี่ยวให้ทันเวลาที่จะเตรียมดินปลูกมันสำปะหลังในฤดูถัดไป นอกจากนี้มันสำปะหลังที่เก็บเกี่ยวเมื่ออายุได้ 12 เดือน ให้ผลผลิตหัวแห้งสูงกว่าเมื่ออายุ 8 เดือน ไม่ว่าจะปลูกเดือนใดก็ตาม อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่ทำให้เกษตรกรตัดสินใจเก็บเกี่ยวผลผลิต ได้แก่ ราคาหัวมันสำปะหลัง ฐานะทางเศรษฐกิจ ฤดูกาล แรงงานและที่สำคัญ คือ พันธุ์ที่ปลูก '''ดังตารางที่ 4''' | มันสำปะหลังเป็นพืชอายุยาวสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อใดก็ได้ แต่โดยปกติจะมีการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังมากในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม โดยเก็บเกี่ยวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - เดือนมีนาคมมากที่สุด ส่วนช่วงต้นฝนและกลางฝน (เมษายน - ตุลาคม) มีการเก็บเกี่ยวน้อยมาก อายุของมันสำปะหลังที่เกษตรกรทำการเก็บเกี่ยวมีอายุ 8 – 12 เดือน โดยเก็บเกี่ยวให้ทันเวลาที่จะเตรียมดินปลูกมันสำปะหลังในฤดูถัดไป นอกจากนี้มันสำปะหลังที่เก็บเกี่ยวเมื่ออายุได้ 12 เดือน ให้ผลผลิตหัวแห้งสูงกว่าเมื่ออายุ 8 เดือน ไม่ว่าจะปลูกเดือนใดก็ตาม อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่ทำให้เกษตรกรตัดสินใจเก็บเกี่ยวผลผลิต ได้แก่ ราคาหัวมันสำปะหลัง ฐานะทางเศรษฐกิจ ฤดูกาล แรงงานและที่สำคัญ คือ พันธุ์ที่ปลูก '''ดังตารางที่ 4''' | ||
บรรทัดที่ 239: | บรรทัดที่ 239: | ||
|} | |} | ||
== พันธุ์กับระยะปลูก == | == '''พันธุ์กับระยะปลูก''' == | ||
การปลูกมันสำปะหลังมีระยะปลูกที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับพันธุ์และความอุดมสมบูรณ์ของดิน ระยะปลูกที่ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกโดยทั่วไปตามมาตรฐานคือ 1.00 X 1.00 เมตร ในปัจจุบันพบว่า ระยะปลูกมันสำปะหลังใช้ระยะระหว่างแถวและระยะระหว่างต้นแคบลง เช่น 0.80 X 0.80 1.00 X 0.50 และ 1.00 X 0.80 เมตร เป็นต้น เนื่องจากการใช้ระยะปลูกที่แคบลงเป็นผลมาจากความต้องการให้มันสำปะหลังเติบโตคลุมพื้นที่ปลูกมากขึ้น เพื่อลดปัญหาในการกำจัดวัชพืช และให้ได้จำนวนหัวต่อพื้นที่มากขึ้น ส่งผลให้ผลผลิตต่อพื้นที่สูง ส่วนการปลูกในระยะที่มากกว่า 1.00 เมตร เพื่อให้สะดวกต่อการใช้เครื่องจักรกล และระบบการปลูกพืชแซม โดยการปลูกพืชแซมสามารถช่วยรักษาอินทรีย์วัตถุในดินได้ยาวนานกว่า ลดการไหล่บ่าของน้ำ และลดการชะล้างพังทลายของดินบนพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังที่มีความลาดเอียง โดยเกษตรกรสามารถพิจารณาระยะปลูกตามความเหมาะสมของพันธุ์มันสำปะหลัง '''ดังตารางที่ 5''' | การปลูกมันสำปะหลังมีระยะปลูกที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับพันธุ์และความอุดมสมบูรณ์ของดิน ระยะปลูกที่ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกโดยทั่วไปตามมาตรฐานคือ 1.00 X 1.00 เมตร ในปัจจุบันพบว่า ระยะปลูกมันสำปะหลังใช้ระยะระหว่างแถวและระยะระหว่างต้นแคบลง เช่น 0.80 X 0.80 1.00 X 0.50 และ 1.00 X 0.80 เมตร เป็นต้น เนื่องจากการใช้ระยะปลูกที่แคบลงเป็นผลมาจากความต้องการให้มันสำปะหลังเติบโตคลุมพื้นที่ปลูกมากขึ้น เพื่อลดปัญหาในการกำจัดวัชพืช และให้ได้จำนวนหัวต่อพื้นที่มากขึ้น ส่งผลให้ผลผลิตต่อพื้นที่สูง ส่วนการปลูกในระยะที่มากกว่า 1.00 เมตร เพื่อให้สะดวกต่อการใช้เครื่องจักรกล และระบบการปลูกพืชแซม โดยการปลูกพืชแซมสามารถช่วยรักษาอินทรีย์วัตถุในดินได้ยาวนานกว่า ลดการไหล่บ่าของน้ำ และลดการชะล้างพังทลายของดินบนพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังที่มีความลาดเอียง โดยเกษตรกรสามารถพิจารณาระยะปลูกตามความเหมาะสมของพันธุ์มันสำปะหลัง '''ดังตารางที่ 5''' | ||
บรรทัดที่ 286: | บรรทัดที่ 286: | ||
|} | |} | ||
== อ้างอิง == | == '''อ้างอิง''' == |
การแก้ไข