223
การแก้ไข
บรรทัดที่ 2: | บรรทัดที่ 2: | ||
== '''อายุต้นมันสำปะหลัง''' == | == '''อายุต้นมันสำปะหลัง''' == | ||
ต้นพันธุ์ที่มีคุณภาพดี ควรมีอายุประมาณ 8 – 14 เดือน อาจสังเกตได้จากสีของลำต้นที่เปลี่ยนเป็นสีเข้ม หลีกเลี่ยงการใช้ต้นพันธุ์จากแหล่งที่มีโรคหรือแมลงระบาด หรือตรวจสอบว่าต้นพันธุ์ไม่มีโรคและแมลงติดมาด้วย เช่น โรคใบด่างมันสำปะหลังที่เกิดจากเชื้อไวรัสในสกุล ''Begomovirus'' และมีแมลงหวี่ขาวยาสูบเป็นพาหะ สังเกตุได้จากใบและลำต้น ใบด่างและใบหงิก เสียรูปทรง อาการด่างมีหลายแบบ เช่น ด่างเขียวซีดสลับเขียวเข้ม ด่างเหลือสลับเขียว ใบหงิก หรือ หงิกเหลือง ใบย่อยบิดเบี้ยวหงิกงอ โค้งเสียรูปทรง ใบอ่อนและใบที่เจริญใหม่มีขนาดเล็กลง ยอดหงิก ต้นแคระแกร็น<ref>https://www.doa.go.th/fc/rayong/?p=530</ref> แต่ละส่วนของต้นพันธุ์มันสำปะหลังมีเปอร์เซ็นต์การอยู่รอดไม่เท่ากัน โดยพบว่าท่อนพันธุ์จากส่วนกลางของต้นจะมีเปอร์เซ็นต์อยู่รอด 69 – 84 เปอร์เซ็นต์ แต่ท่อนพันธุ์จากส่วนปลายของลำต้นมีเปอร์เซ็นต์อยู่รอดเพียง 35 เปอร์เซ็นต์<ref>จรุงสิทธิ์ ลิ่มศิลา และคณะ. 2547. เอกสารวิชาการมันสำปะหลัง. สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร. หจก. ไอเดีย สแควร์ กรุงเทพฯ</ref> ต้นพันธุ์ที่มีอายุน้อยกว่า 8 เดือน เมื่อนำไปปลูกในแปลงจะสูญเสียความชื้นง่าย มีความงอกต่ำ ส่วนต้นพันธุ์ที่อายุ 14 เดือนขึ้นไป จะมีอัตราการงอกต่ำ งอกช้า รากน้อย เจริญเติบโตช้า และให้ผลผลิตต่ำ เมื่อต้นพันธุ์มีอายุมากจะมีสีน้ำตาลเข้ม มีขนาดใหญ่ แตกกิ่งมาก ซึ่งกิ่งที่แตกในระดับแรกอาจใช้เป็นท่อนพันธุ์ได้ แต่ต้องพิจารณาให้ดีว่ากิ่งดังกล่าวมีอายุพอเหมาะ | ต้นพันธุ์ที่มีคุณภาพดี ควรมีอายุประมาณ 8 – 14 เดือน อาจสังเกตได้จากสีของลำต้นที่เปลี่ยนเป็นสีเข้ม หลีกเลี่ยงการใช้ต้นพันธุ์จากแหล่งที่มีโรคหรือแมลงระบาด หรือตรวจสอบว่าต้นพันธุ์ไม่มีโรคและแมลงติดมาด้วย<ref>ศูนย์วิจัยมันสำปะหลังและผลิตภัณฑ์เทคโนธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. การเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ด้วยวิธีการเลือกใช้ต้นพันธุ์ที่สมบูรณ์. สืบค้นเมื่อ 5 เมษายน 2564. จาก <nowiki>http://web.sut.ac.th/cassava/?name=14cas_plant&file=readknowledge&id=59</nowiki> </ref> เช่น โรคใบด่างมันสำปะหลังที่เกิดจากเชื้อไวรัสในสกุล ''Begomovirus'' และมีแมลงหวี่ขาวยาสูบเป็นพาหะ สังเกตุได้จากใบและลำต้น ใบด่างและใบหงิก เสียรูปทรง อาการด่างมีหลายแบบ เช่น ด่างเขียวซีดสลับเขียวเข้ม ด่างเหลือสลับเขียว ใบหงิก หรือ หงิกเหลือง ใบย่อยบิดเบี้ยวหงิกงอ โค้งเสียรูปทรง ใบอ่อนและใบที่เจริญใหม่มีขนาดเล็กลง ยอดหงิก ต้นแคระแกร็น<ref>https://www.doa.go.th/fc/rayong/?p=530</ref> แต่ละส่วนของต้นพันธุ์มันสำปะหลังมีเปอร์เซ็นต์การอยู่รอดไม่เท่ากัน โดยพบว่าท่อนพันธุ์จากส่วนกลางของต้นจะมีเปอร์เซ็นต์อยู่รอด 69 – 84 เปอร์เซ็นต์ แต่ท่อนพันธุ์จากส่วนปลายของลำต้นมีเปอร์เซ็นต์อยู่รอดเพียง 35 เปอร์เซ็นต์<ref>จรุงสิทธิ์ ลิ่มศิลา และคณะ. 2547. เอกสารวิชาการมันสำปะหลัง. สถาบันวิจัยพืชไร่ กรมวิชาการเกษตร. หจก. ไอเดีย สแควร์ กรุงเทพฯ</ref> ต้นพันธุ์ที่มีอายุน้อยกว่า 8 เดือน เมื่อนำไปปลูกในแปลงจะสูญเสียความชื้นง่าย มีความงอกต่ำ ส่วนต้นพันธุ์ที่อายุ 14 เดือนขึ้นไป จะมีอัตราการงอกต่ำ งอกช้า รากน้อย เจริญเติบโตช้า และให้ผลผลิตต่ำ เมื่อต้นพันธุ์มีอายุมากจะมีสีน้ำตาลเข้ม มีขนาดใหญ่ แตกกิ่งมาก ซึ่งกิ่งที่แตกในระดับแรกอาจใช้เป็นท่อนพันธุ์ได้ แต่ต้องพิจารณาให้ดีว่ากิ่งดังกล่าวมีอายุพอเหมาะ | ||
== '''อายุการเก็บรักษาต้นพันธุ์หลังการตัดต้น''' <ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> == | == '''อายุการเก็บรักษาต้นพันธุ์หลังการตัดต้น''' <ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> == |
การแก้ไข