223
การแก้ไข
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
มันสำปะหลังสามารถขยายพันธุ์ได้ทั้งจากเมล็ดและลำต้น แต่การขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดไม่เหมาะสมสำหรับเกษตรกรที่ปลูกเพื่อขายผลผลิตสู่โรงงานแปรรูปหรือเพื่อการค้า เนื่องจากเมล็ดมีระยะพักตัวประมาณ 2 เดือน ทำให้ไม่สะดวกในการปลูกเพื่อการค้า และการปลูกโดยใช้เมล็ดในแปลงปลูกโดยตรง ในระยะต้นอ่อนจะมีความอ่อนแอ เจริญเติบโตช้า ไม่สามารถแข่งขึ้นกับวัชพืชได้ มีจำนวนต้นอยู่รอดน้อย ดังนั้นการขยายพันธุ์มันสำปะหลังด้วยท่อนพันธุ์ที่มีคุณภาพดีเยี่ยม มีผลทำให้ผลผลิตดี<ref>จรุงสิทธิ์ ลิ่มศิลา. 2547. เอกสารวิชาการมันสำปะหลัง พันธุ์และการขยายพันธุ์. ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6</ref> ซึ่งการเตรียมท่อนพันธุ์มันสำปะหลังที่มีข้อพิจารณาดังนี้ | |||
== '''การตัดท่อนพันธุ์''' <ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> == | == '''การตัดท่อนพันธุ์''' <ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> == |
การแก้ไข