ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจัดการโรค"

ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
เพิ่มขึ้น 4,617 ไบต์ ,  07:13, 22 พฤศจิกายน 2564
ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
บรรทัดที่ 69: บรรทัดที่ 69:
ตัดส่วนที่ป็นโรคไปเผาทำลาย พ่นสารเบโนมิล (benomyl) หรือการใช้เชื้อราปฏิปักษ์ไตรโคเดอร์มา ฮาเซียนัม (''Trichoderma harzianum'') พ่นควบคุมโรค 3 – 5 ครั้งจนกว่าโรคจะหยุดระบาด (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>
ตัดส่วนที่ป็นโรคไปเผาทำลาย พ่นสารเบโนมิล (benomyl) หรือการใช้เชื้อราปฏิปักษ์ไตรโคเดอร์มา ฮาเซียนัม (''Trichoderma harzianum'') พ่นควบคุมโรค 3 – 5 ครั้งจนกว่าโรคจะหยุดระบาด (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>
[[หมวดหมู่:โรค]]
[[หมวดหมู่:โรค]]
เป็นโรคที่ส่งผลต่อผลผลิตทั้งปริมาณและคุณภาพ โดยพบโรคนี้มากในพื้นที่ที่ระบายน้ำไม่ดี มีปริมาณน้ำฝนมากเกินไปหรือเป็นพื้นที่ที่เคยมีการปลูกกาแฟ ยาง หรือเป็นป่าไม้มาก่อน ในบางครั้งสามารถพบในพื้นที่ที่มีการชะล้างสูง สามารถเกิดได้ทั้งระยะ ต้นกล้า และระยะลงหัวแล้ว สาเหตุโรครากเน่าและหัวเน่าเกิดจากเชื้อราและเชื้อแบคทีเรียหลายชนิด เช่น  ''Phytophthora'' sp., ''Sclerotium'' sp., ''Rigidoporus'' (Fomes) ''lignosus''
== ลักษณะอาการ ==
[[ไฟล์:Image8.png|thumb|ลักษณะอาการของโรครากเน่าและหัวเน่าบริเวณหัวของมันสำปะหลัง]]
จากเชื้อรา ''Phytophthora'' sp. แสดงอาการที่รากเป็นรอยช้ำสีน้ำตาลและเน่า บนต้นจะแสดงอาการเหี่ยวเฉา หากเข้าทำลายในระยะลงหัวจะทำให้หัวเน่าอย่างรวดเร็ว และมีกลิ่นเหม็น ใบเหี่ยวหลุดร่วง ถ้ารุนแรงจะส่งผลให้ต้นมันสำปะหลังตายได้
         จากเชื้อรา ''Sclerotium'' sp. จะสังเกตเห็นเส้นใยสีขาวเจริญอยู่ในดินบริเวณรอบโคนท่อนพันธุ์และราก บางครั้งอาจพบบนท่อนพันธุ์มีเม็ดกลมเล็กๆ ขนาดเท่าเมล็ดผักกาดเรียกว่า sclerotia ที่สร้างโดยเส้นใยเชื้อราชนิดนี้อยู่ ซึ่งจะเป็นส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อ สามารถอยู่ในดินได้เป็นเวลานานหลายปี เมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมเหมาะสมเม็ด sclerotia จะเจริญเติบโตเป็นเส้นใยเข้าทำลายต้นอื่นต่อไป เส้นใยของเชื้อจะเข้าทำลายมันสำปะหลังทำให้ระบบรากเน่า ใบเหี่ยวและตายในที่สุด
== การแพร่ระบาด ==
โดยส่วนใหญ่จะเกิดปัญหาเฉพาะบางพื้นที่และในพื้นที่ที่มีการระบายน้ำได้ไม่ดี
== การป้องกันกำจัด ==
เริ่มจากการเตรียมแปลงปลูกให้มีการระบายน้ำได้ดี ไม่ควรปลูกในพื้นที่ที่มีน้ำท่วมขัง หรือใกล้ทางระบายน้ำ หากดินระบายน้ำไม่ดีควรปลูกแบบยกร่อง และทำความสะอาดแปลงก่อนการปลูก ทำลายหัวมันเน่าที่เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคและคิดเลือกท่อนพันธุ์ที่มีความสมบูรณ์ปราศจากโรคมาปลูก (อุดมศักดิ์, 2555)<ref>อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>
== อ้างอิง ==
*
[[หมวดหมู่:โรค]]


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==


*
*
134

การแก้ไข

รายการนำทางไซต์