ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจัดการโรค"

ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
เพิ่มขึ้น 33 ไบต์ ,  07:12, 22 พฤศจิกายน 2564
บรรทัดที่ 56: บรรทัดที่ 56:
== การป้องกันกำจัด ==
== การป้องกันกำจัด ==
หากมีการพบมันสำปะหลังที่แสดงอาการมากกว่า 10 ต้นต่อไร่ ทำการถอนทำลายต้นมันสำปะหลังทิ้งทั้งแปลง โดยไม่ให้เหลือเศษซากพืชหรือชิ้นส่วนของต้นมันสำปะหลังหลงเหลืออยู่ในแปลง จากนั้นทำการฝังกลบในหลุมลึกไม่น้อยกว่า 2 – 3 เมตร ราดด้วยสารกำจัดวัชพืช อะมีทรีน 80% WG และกลบด้วยดินหนาไม่น้อยกว่า 0.5 เมตร ทำการพ่นด้วยสารฆ่าแมลงเพื่อกำจัดแมลงหวี่ขาวยาสูบ ด้วยสารเคมี อิมิดาโคลพริด 70 % WG อัตรา 12 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ ไดโนฟูแรน 10% SL อัตรา 20 มิลลิลิตร ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ ไทอะมีโทแซม 25% WG อัตรา 12 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร บนต้นมันสำปะหลังในแปลงที่พบอาการใบด่าง และแปลงงข้างเคียง (กรมวิชาการเกษตร, ม.ป.ป.<ref>กรมวิชาการเกษตร.  ม.ป.ป. โรคใบด่างมันสำปะหลัง. เอกสารวิชาการ: แนวทางการเฝ้าระวังและป้องกันกำจัดโรคใบด่างมันสำปะหลัง. กรุงเทพฯ.</ref>)
หากมีการพบมันสำปะหลังที่แสดงอาการมากกว่า 10 ต้นต่อไร่ ทำการถอนทำลายต้นมันสำปะหลังทิ้งทั้งแปลง โดยไม่ให้เหลือเศษซากพืชหรือชิ้นส่วนของต้นมันสำปะหลังหลงเหลืออยู่ในแปลง จากนั้นทำการฝังกลบในหลุมลึกไม่น้อยกว่า 2 – 3 เมตร ราดด้วยสารกำจัดวัชพืช อะมีทรีน 80% WG และกลบด้วยดินหนาไม่น้อยกว่า 0.5 เมตร ทำการพ่นด้วยสารฆ่าแมลงเพื่อกำจัดแมลงหวี่ขาวยาสูบ ด้วยสารเคมี อิมิดาโคลพริด 70 % WG อัตรา 12 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ ไดโนฟูแรน 10% SL อัตรา 20 มิลลิลิตร ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ ไทอะมีโทแซม 25% WG อัตรา 12 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร บนต้นมันสำปะหลังในแปลงที่พบอาการใบด่าง และแปลงงข้างเคียง (กรมวิชาการเกษตร, ม.ป.ป.<ref>กรมวิชาการเกษตร.  ม.ป.ป. โรคใบด่างมันสำปะหลัง. เอกสารวิชาการ: แนวทางการเฝ้าระวังและป้องกันกำจัดโรคใบด่างมันสำปะหลัง. กรุงเทพฯ.</ref>)
== '''โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)''' ==
[[หมวดหมู่:โรค]]
[[หมวดหมู่:โรค]]
== ลักษณะอาการ ==
== ลักษณะอาการ ==
บรรทัดที่ 66: บรรทัดที่ 68:
== การป้องกันกำจัด ==
== การป้องกันกำจัด ==
ตัดส่วนที่ป็นโรคไปเผาทำลาย พ่นสารเบโนมิล (benomyl) หรือการใช้เชื้อราปฏิปักษ์ไตรโคเดอร์มา ฮาเซียนัม (''Trichoderma harzianum'') พ่นควบคุมโรค 3 – 5 ครั้งจนกว่าโรคจะหยุดระบาด (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>
ตัดส่วนที่ป็นโรคไปเผาทำลาย พ่นสารเบโนมิล (benomyl) หรือการใช้เชื้อราปฏิปักษ์ไตรโคเดอร์มา ฮาเซียนัม (''Trichoderma harzianum'') พ่นควบคุมโรค 3 – 5 ครั้งจนกว่าโรคจะหยุดระบาด (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>
== อ้างอิง ==
*
[[หมวดหมู่:โรค]]
[[หมวดหมู่:โรค]]


134

การแก้ไข

รายการนำทางไซต์