134
การแก้ไข
บรรทัดที่ 231: | บรรทัดที่ 231: | ||
* '''ระดับต่ำมาก (<1.0%)''' ควรมีการจัดการเพิ่มเติมอินทรียวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกโดยเฉพาะมูลไก่แกลบในอัตรา 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งนี้ควรพิจารณาเรื่องการปรับลดปุ๋ยไนโตรเจนลงบ้างเพื่อลดอาการเฝือใบ การใส่กากแป้งจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังในระยะยาวอาจส่งผลต่อการลดลงของค่าพีเอชดิน ซึ่งต้องมีการทดลองว่ามีผลต่อมันสำปะหลังอย่างไร การใช้กากแป้งที่มี C:N Ratio กว้างในปริมาณมาก ต้องระวังการเกิด N-immobilization และอาจทำให้พืชขาด N ได้ โดยเฉพาะในระยะแรก ๆ ของการเติบโตของมันสำปะหลัง ซึ่งเป็นช่วงที่จะมีผลต่อการให้ผลผลิตที่สำคัญมาก และการไถกลบเศษเหลือของพืชลงไปในดินอย่างสม่ำเสมอ หรือการไถกลบพืชปุ๋ยสดจะช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | * '''ระดับต่ำมาก (<1.0%)''' ควรมีการจัดการเพิ่มเติมอินทรียวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกโดยเฉพาะมูลไก่แกลบในอัตรา 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งนี้ควรพิจารณาเรื่องการปรับลดปุ๋ยไนโตรเจนลงบ้างเพื่อลดอาการเฝือใบ การใส่กากแป้งจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังในระยะยาวอาจส่งผลต่อการลดลงของค่าพีเอชดิน ซึ่งต้องมีการทดลองว่ามีผลต่อมันสำปะหลังอย่างไร การใช้กากแป้งที่มี C:N Ratio กว้างในปริมาณมาก ต้องระวังการเกิด N-immobilization และอาจทำให้พืชขาด N ได้ โดยเฉพาะในระยะแรก ๆ ของการเติบโตของมันสำปะหลัง ซึ่งเป็นช่วงที่จะมีผลต่อการให้ผลผลิตที่สำคัญมาก และการไถกลบเศษเหลือของพืชลงไปในดินอย่างสม่ำเสมอ หรือการไถกลบพืชปุ๋ยสดจะช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
[[ไฟล์:ปุ๋ยพืชสด.png|thumb|การปลูกถั่วพร้าเป็นพืชปุ๋ยสดเพื่อเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุ]] | |||
=== ค่าความเค็ม === | === ค่าความเค็ม === | ||
บรรทัดที่ 258: | บรรทัดที่ 259: | ||
=== ธาตุอาหารเสริม === | === ธาตุอาหารเสริม === | ||
โบรอนเป็นธาตุอาหารเสริมที่มันสำปะหลังต้องการในปริมาณน้อยมาก และไม่ค่อยพบรายงานว่ามีอาการขาดเกิดขึ้นในแปลงปลูกมันสำปะหลัง สำหรับธาตุทองแดง แมงกานีส และเหล็ก โดยทั่วไปไม่ค่อยพบอาการขาดในประเทศไทยโดยเฉพาะในดินที่มีพีเอชเป็นกรด ปัญหาที่พบมากที่สุดสำหรับมันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศไทยก็คือ การขาดธาตุสังกะสีโดยเฉพาะเมื่อปลูกในดินทรายจัด ดินด่าง หรือพื้นที่ดินที่ปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน หรือมีการใช้ปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัสในอัตราสูงอย่างต่อเนื่อง การขาดสังกะสีมีผลทำให้มันสำปะหลังยืดต้นช้า พบแถบสีขาว หรือเหลืองบนใบอ่อน ใบอาจย่นหรือเปลี่ยนรูปร่าง อาจพบจุดแผลเซลล์ตายในใบล่าง และอาจรุนแรงทำให้ต้นตาย ส่งผลถึงความอยู่รอดและผลผลิตมันสำปะหลัง แก้ไขโดยการฉีดพ่นปุ๋ยซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรตทางใบที่อัตรา 0.8 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบเมื่อมันสำปะหลังอายุ 1, 2 และ 3 เดือนหลังปลูก หรือชุบท่อนพันธุ์ก่อนปลูกด้วยธาตุสังกะสี (ซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรต) ที่ละลายน้ำในอัตรา 0.4 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เป็นเวลา 15 นาที (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | โบรอนเป็นธาตุอาหารเสริมที่มันสำปะหลังต้องการในปริมาณน้อยมาก และไม่ค่อยพบรายงานว่ามีอาการขาดเกิดขึ้นในแปลงปลูกมันสำปะหลัง สำหรับธาตุทองแดง แมงกานีส และเหล็ก โดยทั่วไปไม่ค่อยพบอาการขาดในประเทศไทยโดยเฉพาะในดินที่มีพีเอชเป็นกรด ปัญหาที่พบมากที่สุดสำหรับมันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศไทยก็คือ การขาดธาตุสังกะสีโดยเฉพาะเมื่อปลูกในดินทรายจัด ดินด่าง หรือพื้นที่ดินที่ปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน หรือมีการใช้ปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัสในอัตราสูงอย่างต่อเนื่อง การขาดสังกะสีมีผลทำให้มันสำปะหลังยืดต้นช้า พบแถบสีขาว หรือเหลืองบนใบอ่อน ใบอาจย่นหรือเปลี่ยนรูปร่าง อาจพบจุดแผลเซลล์ตายในใบล่าง และอาจรุนแรงทำให้ต้นตาย ส่งผลถึงความอยู่รอดและผลผลิตมันสำปะหลัง แก้ไขโดยการฉีดพ่นปุ๋ยซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรตทางใบที่อัตรา 0.8 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบเมื่อมันสำปะหลังอายุ 1, 2 และ 3 เดือนหลังปลูก หรือชุบท่อนพันธุ์ก่อนปลูกด้วยธาตุสังกะสี (ซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรต) ที่ละลายน้ำในอัตรา 0.4 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เป็นเวลา 15 นาที (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
[[ไฟล์:ขาดธาตุ.png|thumb|สภาพของต้นมันสำปะหลังที่ขาดธาตุสังกะสี]] | |||
[[ไฟล์:สภาพแปลงมัน.png|thumb|สภาพแปลงมันสำปะหลังที่ขาดธาตุสังกะสี]] | |||
=== การปรับปรุงดินโดยชีววิธี === | === การปรับปรุงดินโดยชีววิธี === |
การแก้ไข