ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจัดการน้ำในแปลงปลูก"

ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
บรรทัดที่ 35: บรรทัดที่ 35:
==== '''การให้น้ำใต้ดิน (Subirrigation)''' ====
==== '''การให้น้ำใต้ดิน (Subirrigation)''' ====
เป็นการให้น้ำโดยการยกระดับน้ำใต้ดินให้ขึ้นมาอยู่ในระดับที่น้ำจะไหลซึมขึ้นมาสู่เขตรากพืชได้ จะทำให้น้ำบริเวณเขตรากพืชเกิดการเคลื่อนที่โดยแรงดึงดูดของช่องว่างภายในอนุภาคดิน จากที่ที่มีความชื้นไปยังบริเวณที่แห้ง<ref name=":1" /> สามารถทำได้ 2 รูปแบบ คือ การให้น้ำในคูและการฝั่งท่อน้ำไว้ใต้ดิน โดยความลึกของระดับน้ำใต้ดินขณะให้น้ำจะอยู่ระหว่าง 30-60 ซม. การให้น้ำรูปแบบนี้มีประสิทธิภาพ 30-50 เปอร์เซ็นต์ เหมาะสมที่จะใช้กับดินที่มีเนื้อดินชนิดเดียวกัน แต่จำกัดใช้ได้กับพืชเพียงบางชนิดที่มีรากลึก หากพืชยืนต้นไม่เหมาะที่จะให้น้ำรูปแบบนี้ <ref>วิบูลย์ บุญยธโรกุล. (2526). ''หลักการชลประทาน''. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน.</ref>
เป็นการให้น้ำโดยการยกระดับน้ำใต้ดินให้ขึ้นมาอยู่ในระดับที่น้ำจะไหลซึมขึ้นมาสู่เขตรากพืชได้ จะทำให้น้ำบริเวณเขตรากพืชเกิดการเคลื่อนที่โดยแรงดึงดูดของช่องว่างภายในอนุภาคดิน จากที่ที่มีความชื้นไปยังบริเวณที่แห้ง<ref name=":1" /> สามารถทำได้ 2 รูปแบบ คือ การให้น้ำในคูและการฝั่งท่อน้ำไว้ใต้ดิน โดยความลึกของระดับน้ำใต้ดินขณะให้น้ำจะอยู่ระหว่าง 30-60 ซม. การให้น้ำรูปแบบนี้มีประสิทธิภาพ 30-50 เปอร์เซ็นต์ เหมาะสมที่จะใช้กับดินที่มีเนื้อดินชนิดเดียวกัน แต่จำกัดใช้ได้กับพืชเพียงบางชนิดที่มีรากลึก หากพืชยืนต้นไม่เหมาะที่จะให้น้ำรูปแบบนี้ <ref>วิบูลย์ บุญยธโรกุล. (2526). ''หลักการชลประทาน''. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน.</ref>
== อ้างอิง ==
<references />
<references />
100

การแก้ไข

รายการนำทางไซต์