ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดิน"

ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
บรรทัดที่ 74: บรรทัดที่ 74:


* 5.1 ตามพระราชบัญญัติปุ๋ยปี พ.ศ. 2518 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปุ๋ย (ฉบับ 2) ปี พ.ศ. 2550 ได้กำหนดให้ผู้ประกอบการเขียนข้อความที่สำคัญต่างเป็นภาษาไทย หรือที่เรียกว่า “ฉลากปุ๋ย” ไว้ที่กระสอบปุ๋ยให้เด่นชัด คือ
* 5.1 ตามพระราชบัญญัติปุ๋ยปี พ.ศ. 2518 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปุ๋ย (ฉบับ 2) ปี พ.ศ. 2550 ได้กำหนดให้ผู้ประกอบการเขียนข้อความที่สำคัญต่างเป็นภาษาไทย หรือที่เรียกว่า “ฉลากปุ๋ย” ไว้ที่กระสอบปุ๋ยให้เด่นชัด คือ
# ชื่อทางการค้าและมีคำว่าปุ๋ยเคมี ปุ๋ยเคมีมาตรฐาน หรือปุ๋ยอินทรีย์เคมีแล้วแต่กรณ
# ชื่อทางการค้าและมีคำว่าปุ๋ยเคมี ปุ๋ยเคมีมาตรฐาน หรือปุ๋ยอินทรีย์เคมีแล้วแต่กรณ
# เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายอื่นใด แสดงที่ภาชนะหรือหีบห่อบรรจุปุ๋ยเคมี
# เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายอื่นใด แสดงที่ภาชนะหรือหีบห่อบรรจุปุ๋ยเคมี
บรรทัดที่ 83: บรรทัดที่ 82:


* 5.2 ตรวจสอบเลขทะเบียนของปุ๋ยที่ขึ้นกับกรมวิชาการเกษตรด้วยแอพเคชั่นของกรมวิชาการเกษตร บนช่องทางเครื่องมือสื่อสาร
* 5.2 ตรวจสอบเลขทะเบียนของปุ๋ยที่ขึ้นกับกรมวิชาการเกษตรด้วยแอพเคชั่นของกรมวิชาการเกษตร บนช่องทางเครื่องมือสื่อสาร
*5.3 ไม่หลงเชื้อคำโฆษณาชวนเชื่อ เกินราคา เกินความจริง เช่น ใช้ซองเดียวข้าวได้เป็นตันๆ
*5.4 เกษตรกรควรมีความรู้ เพื่อป้องกันการโดนหลอกขายปุ๋ย ขายยา โดยสามารถหาความรู้ได้ทางช่องทางอินเตอร์เน็ต หรือตามหน่วยงานด้านการเกษตร ทราบถึงธาตุอาหารที่พืชต้องการ ระยะเวลาการใส่ปุ๋ย ปริมาณที่พอเหมาะ
*5.5ไม่หลงเชื่อคำพูดของของเกษตรกรผู้ปลูกด้วยกันง่ายๆ อาจเพราะการบอกว่าใช้ดีอาจหมายถึงเป็นตัวแทนขาย หรือได้รับผลประโยชน์
*5.6 ไม่หลงเชื่อโฆษณาตามอินเตอร์เน็ต หรือวิทยุได้ง่ายๆ
== การวิเคราะห์เนื้อดินอย่างง่าย ==
=== การวิเคราะห์เนื้อดินด้วยชุดตรวจสอบดิน ===
   วิธีวิเคราะห์ดิน ด้วยชุดวิเคราะห์ของมูลนิธิพลังนิเวศ มก.
* ทำการบดตัวอย่างดินให้ละเอียดพอประมาณ ด้วยการทุบ ตำ หรือบดด้วยขวดแก้ว
==== ตรวจสอบค่าความเป็นกรดด่าง (pH) ====
* ใส่ดินในถาดหลุม ครึ่งหลุม
* หยดน้ำยาเบอร์ 10 ทีละหยดจนดินอิ่มตัว แล้วเติมลงอีก 2 หยด
* 1 นาที อ่านค่าโดยเทียบสีมาตรฐาน
หมายเหตุ : ดินนา pH ต่ำกว่า 4.5 ไม่ต้องเติมปูน (เมื่อปล่อยน้ำเข้า pH จะเพิ่มขึ้น)
            วิเคราะห์ธาตุอาหาร
==== เตรียมน้ำยาสกัด ====
* ตักดินด้วยช้อนตวง 1 ช้อนพูน เคาะช้อนสองถึงสามครั้งกับมือแล้วใช้เหล็กปาดให้เสมอขอบ
* ใส่ดินลงในขวดสกัด
* เตรียมน้ำยาสกัด เบอร์ 1 20 ม.ล (ห้ามขาด ห้ามเกิน) ใส่ภาชนะ
* เทน้ำยาสกัดลงในขวดที่มีดิน แล้วเขย่า 5 นาที
* เทน้ำสกัดลงในกรวยที่มีแผ่นกรองใส่ขวดรองรับ รอจนแห้
    “ได้น้ำสกัดดินที่พร้อมนำไปสกัดหาธาตุอาหาร”    
==== วิเคราะห์ แอมโมเนี่ยม ไนโตรเจน NH<sub>4</sub>+N ====
* ดูดน้ำที่กรองได้จากขวดรองรับ  2.5 ม.ล ใส่หลอดแก้ว
* เติมผงเบอร์ 2 หนึ่งช้อนเล็ก
* เติมน้ำยาเบอร์ 3  5 หยด
* ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง เขย่าให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 5 นาที
* อ่านค่าโดยการเทียบแผ่นสีมาตรฐาน “แอมโมเนียม”
หมายเหตุ ถ้าโทนสีเป็นสีฟ้า ใช้แผ่นเทียบสีแผ่นที่ 1
           ถ้าโทนสีเป็นสีเขียว ใช้แผ่นเทียบสีแผ่นที่ 2
==== วิเคราะห์ ไนเทรต ไนโตรเจน NO<sub>3</sub>- N ====
* ดูดน้ำที่กรองได้จากขวดรองรับ 2.5 ม.ล ใส่ในหลอดแก้ว
* เติมน้ำยาเบอร์ 4  0.5 ม.ล
* เติมผงเบอร์ 5 หนึ่งช้อนเล็ก
* ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง เขย่าให้เข้ากันทิ้งไว้ 5 นาที
* อ่านค่าไนเทรต โดยการเทียบแผ่นสีมาตรฐาน
==== วิเคราะห์ ฟอสฟอรัส P2O5 (Phosphorus Pentoxide) ====
* ดูดน้ำกรองได้จากขวดรองรับ 2.5 ม.ล ใส่ในหลอดแก้ว
* เติมน้ำยาเบอร์6 0.5 ม.ล
* เติมผงเบอร์7 ครึ่งช้อนเล็ก
* ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง เขย่าให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 5 นาที
* อ่านค่าฟอสฟอรัส โดยเปรียบเทียบแผ่นสีมาตรฐาน
==== วิเคราะห์ โพแทสเซี่ยม K2O (Potassium Oxide) ====
     เตรียมน้ำยา เบอร์9 โดยการดูดน้ำกรองจากขวด 3 ม.ล ใส่ลงในผง เบอร์9 เขย่าให้เข้ากัน 5 นาที จได้สารละลายสีน้ำตาลส้ม
    *เมื่อใช้เหลือ เก็บในตู้เย็นอุณหภูมิช่องปกติ สามารถเก็บได้นาน 3 เดือน
    *หากเก็บในอุณหภูมิห้องปกติ สามารถเก็บได้นาน 7 วัน
    *ส่วนผงเคมีที่ยังไม่ผสมน้ำยา สามารถเก็บไว้ได้นาน
* ดูดน้ำยาที่กรองได้จากขวดรองรับ 2.5 ม.ล
* เติมน้ำยาเบอร์ 8 2.0 ม.ล (ห้ามเขย่า)
* เติมน้ำยา 9A 1 หยด
* เติมน้ำยาเบอร์ 9  2 หยด (ห้ามเกิน)
* ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง เขย่าให้เข้ากัน แล้วอ่านค่า “ทันที”
<nowiki>*</nowiki>ถ้ามี “ตะกอน” อ่านค่าได้ว่ามีปริมาณ โพแทสเซี่ยมสูง
<nowiki>*</nowiki> ถ้า“ฝ้าขาว” อ่านค่าได้ว่ามีปริมาณ โพแทสเซี่ยมปานกลาง
<nowiki>*</nowiki> ถ้าไม่มีทั้ง“ตะกอน” และ “ฝ้าขาว” อ่านค่าได้ว่ามีปริมาณ โพแทสเซียมต่ำ (ทัศนีย์ และ ประทีป. 2558)
134

การแก้ไข

รายการนำทางไซต์