223
การแก้ไข
บรรทัดที่ 5: | บรรทัดที่ 5: | ||
== '''อายุการเก็บรักษาต้นพันธุ์หลังการตัดต้น''' <ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> == | == '''อายุการเก็บรักษาต้นพันธุ์หลังการตัดต้น''' <ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> == | ||
เกษตรกรควรใช้ต้นพันธุ์ที่สดใหม่ ตัดแล้วนำมาปลูกทันที หากต้องการเก็บต้นพันธุ์ไว้รอปลูก ให้รีบนำต้นพันธุ์ออกจากแปลงเพื่อป้องกันแดดเผาต้น นำมาเก็บรักษาโดยใช้วิธีมัดต้นพันธุ์แล้วนำมาวางตั้งเป็นกองให้ส่วนโคนของต้นสัมผัสผิวดิน '''ดังภาพที่ 1''' เมื่อเก็บไว้นาน ตาบนต้นพันธุ์จะแตกยอดอ่อนออกมา เกษตรกรควรตัดท่อนพันธุ์ส่วนที่แตกยอดอ่อนทิ้ง และเลือกเฉพาะส่วนที่ไม่มีการแตกยอดอ่อนไปปลูก วิธีนี้จะช่วยเก็บรักษาต้นพันธุ์ให้คงความสดไว้ได้นานกว่าการเก็บด้วยวิธีอื่น ๆ และสามารถเก็บไว้ได้นานถึง 2 เดือน อย่างไรก็ตามระยะเวลาในการเก็บรักษาต้นพันธุ์ยิ่งนานเท่าใด ส่วนของต้นพันธุ์ที่จะตัดเป็นท่อนพันธุ์ได้จะยิ่งน้อยลง และความงอกของท่อนพันธุ์ก็จะลดลงด้วย ดังนั้นท่อนพันธุ์ที่ดีไม่ควรเก็บไว้นานเกิน 15 – 30 วัน และแต่ละพันธุ์จะมีอายุการเก็บรักษาต้นพันธุ์แตกต่างกัน '''ดังตารางที่ 1''' | เกษตรกรควรใช้ต้นพันธุ์ที่สดใหม่ ตัดแล้วนำมาปลูกทันที หากต้องการเก็บต้นพันธุ์ไว้รอปลูก ให้รีบนำต้นพันธุ์ออกจากแปลงเพื่อป้องกันแดดเผาต้น นำมาเก็บรักษาโดยใช้วิธีมัดต้นพันธุ์แล้วนำมาวางตั้งเป็นกองให้ส่วนโคนของต้นสัมผัสผิวดิน '''ดังภาพที่ 1''' เมื่อเก็บไว้นาน ตาบนต้นพันธุ์จะแตกยอดอ่อนออกมา เกษตรกรควรตัดท่อนพันธุ์ส่วนที่แตกยอดอ่อนทิ้ง และเลือกเฉพาะส่วนที่ไม่มีการแตกยอดอ่อนไปปลูก วิธีนี้จะช่วยเก็บรักษาต้นพันธุ์ให้คงความสดไว้ได้นานกว่าการเก็บด้วยวิธีอื่น ๆ และสามารถเก็บไว้ได้นานถึง 2 เดือน อย่างไรก็ตามระยะเวลาในการเก็บรักษาต้นพันธุ์ยิ่งนานเท่าใด ส่วนของต้นพันธุ์ที่จะตัดเป็นท่อนพันธุ์ได้จะยิ่งน้อยลง และความงอกของท่อนพันธุ์ก็จะลดลงด้วย ดังนั้นท่อนพันธุ์ที่ดีไม่ควรเก็บไว้นานเกิน 15 – 30 วัน และแต่ละพันธุ์จะมีอายุการเก็บรักษาต้นพันธุ์แตกต่างกัน '''ดังตารางที่ 1'''[[ไฟล์:ท่อนพันธุ์สะอาด.jpg|thumb|424x424px|'''ภาพที่ 1''' แสดงวิธีการเก็บรักษาต้นพันธุ์ที่ดี]] | ||
'''ตารางที่ 1''' อายุการเก็บรักษาต้นพันธุ์ของมันสำปะหลังพันธุ์ต่าง ๆ | '''ตารางที่ 1''' อายุการเก็บรักษาต้นพันธุ์ของมันสำปะหลังพันธุ์ต่าง ๆ | ||
บรรทัดที่ 21: | บรรทัดที่ 21: | ||
|ไม่ควรเกิน 45 วัน | |ไม่ควรเกิน 45 วัน | ||
|} | |} | ||
== '''ส่วนของต้นพันธุ์ที่ใช้''' == | == '''ส่วนของต้นพันธุ์ที่ใช้''' == | ||
ส่วนของต้นพันธุ์ที่ใช้ปลูกมักใช้ส่วนกลางค่อนมาทางส่วนโคน ซึ่งจะมีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูงกว่าการปลูกโดยใช้ส่วนปลายหรือส่วนยอด ไม่ควรใช้ส่วนของกิ่งมาปลูกเนื่องจากมีความงอกและความอยู่รอดต่ำกว่าส่วนของลำต้น ในการเตรียมท่อนพันธุ์ควรตัดส่วนปลายต้นที่มีตาห่าง ส่วนโคนต้นที่มีตาถี่มาก และส่วนที่มีบาดแผลจากการถูกสารกำจัดวัชพืชในช่วงที่ต้นยังเล็กทิ้ง | ส่วนของต้นพันธุ์ที่ใช้ปลูกมักใช้ส่วนกลางค่อนมาทางส่วนโคน ซึ่งจะมีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูงกว่าการปลูกโดยใช้ส่วนปลายหรือส่วนยอด ไม่ควรใช้ส่วนของกิ่งมาปลูกเนื่องจากมีความงอกและความอยู่รอดต่ำกว่าส่วนของลำต้น ในการเตรียมท่อนพันธุ์ควรตัดส่วนปลายต้นที่มีตาห่าง ส่วนโคนต้นที่มีตาถี่มาก และส่วนที่มีบาดแผลจากการถูกสารกำจัดวัชพืชในช่วงที่ต้นยังเล็กทิ้ง | ||
== '''ขนาดและความยาวท่อนพันธุ์''' <ref name=":0" /> == | == '''ขนาดและความยาวท่อนพันธุ์''' <ref name=":0" /> == | ||
ท่อนพันธุ์ที่สมบูรณ์ แข็งแรง และมีขนาดพอเหมาะสำหรับปลูกควรมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5 – 2.5 เซนติเมตร และมีความยาวท่อนพันธุ์ประมาณ 20 – 30 เซนติเมตร มีตาอยู่ประมาณ 5 – 6 ตาต่อ 1 ท่อนพันธุ์ การปลูกมันสำปะหลังในช่วงต้นฤดูฝนควรใช้ท่อนพันธุ์ยาว 20 – 25 เซนติเมตร ส่วนในช่วงปลายฤดูฝนใช้ท่อนพันธุ์ยาว 25 – 30 เซนติเมตร จึงจะให้เปอร์เซ็นต์ความงอกและความอยู่รอดสูง | [[ไฟล์:Image s3.png|thumb|'''ภาพที่ 2''' แสดงขนาดของท่อนพันธุ์ที่เหมาะสำหรับปลูกจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางใกล้เคียงกับเหรียญ 5 หรือ 10 บาท|293x293px]]ท่อนพันธุ์ที่สมบูรณ์ แข็งแรง และมีขนาดพอเหมาะสำหรับปลูกควรมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5 – 2.5 เซนติเมตร และมีความยาวท่อนพันธุ์ประมาณ 20 – 30 เซนติเมตร มีตาอยู่ประมาณ 5 – 6 ตาต่อ 1 ท่อนพันธุ์ การปลูกมันสำปะหลังในช่วงต้นฤดูฝนควรใช้ท่อนพันธุ์ยาว 20 – 25 เซนติเมตร ส่วนในช่วงปลายฤดูฝนใช้ท่อนพันธุ์ยาว 25 – 30 เซนติเมตร จึงจะให้เปอร์เซ็นต์ความงอกและความอยู่รอดสูง โดยปกติส่วนปลาย ของท่อนพันธุ์จะสูญเสียความชื้นจากสภาพอากาศที่ร้อนและแห้ง ทำให้ท่อนพันธุ์เริ่มแห้งจากส่วนปลายลงมา การใช้ท่อนพันธุ์ยาวในการปลูกมีข้อดี คือ มีจำนวนตาบนท่อนพันธุ์มากกว่าและถึงแม้ท่อนพันธุ์จะมีการแห้งจากยอด แต่ยังมีตาที่เหลือถัดลงมาซึ่งสามารถงอกได้ นอกจากนี้การใช้ท่อนพันธุ์ยาวยังช่วยลดความเสียหายจากการใช้สารกำจัดวัชพืชขณะที่ต้นยังเล็กได้มากกว่าการใช้ท่อนพันธุ์สั้น | ||
== '''ต้นพันธุ์ที่ปราศจากโรคและแมลง''' <ref name=":0" /> == | == '''ต้นพันธุ์ที่ปราศจากโรคและแมลง''' <ref name=":0" /> == | ||
ต้นพันธุ์ที่นำมาปลูกควรปลอดจากโรคและแมลง เช่น โรคใบด่าง ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัส หรือ โรคใบไหม้ ซึ่งเกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในท่อน้ำท่ออาหารภายในลำต้น โดยสามารถสังเกตอาการจากแปลงปลูกเดิมว่ามีต้นมันสำปะหลังที่เป็นโรคดังกล่าวหรือไม่ หากมีไม่ควรนำไปปลูกต่อ ควรนำไปเผาทำลายทิ้งและไม่ควรไถกลบเศษซากต้นลงไปในดินเนื่องจากเชื้อจะสะสมอยู่ในดินต่อไป นอกจากนี้หากบริเวณผิวของลำต้นมีเพลี้ยแป้งหรือเพลี้ยหอยอาศัยอยู่ก็ไม่ควรนำต้นพันธุ์นั้นมาใช้ปลูกเช่นกัน หรือต้นพันธุ์ที่ได้รับความเสียหายจากการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช เช่น สารพาราควอต ซึ่งเมื่อฉีดพ่นโดนบริเวณที่มีสีเขียวของลำต้นในช่วงอายุ 1 – 4 เดือนหลังปลูก พอลำต้นแก่ เปลือกลำต้นจะมีสีดำ แห้ง และปริแตก ไม่ควรนำมาใช้เป็นท่อนพันธุ์เนื่องจากมีเปอร์เซ็นต์ความงอกต่ำ | ต้นพันธุ์ที่นำมาปลูกควรปลอดจากโรคและแมลง เช่น โรคใบด่าง ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัส หรือ โรคใบไหม้ ซึ่งเกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่อาศัยอยู่ในท่อน้ำท่ออาหารภายในลำต้น โดยสามารถสังเกตอาการจากแปลงปลูกเดิมว่ามีต้นมันสำปะหลังที่เป็นโรคดังกล่าวหรือไม่ หากมีไม่ควรนำไปปลูกต่อ ควรนำไปเผาทำลายทิ้งและไม่ควรไถกลบเศษซากต้นลงไปในดินเนื่องจากเชื้อจะสะสมอยู่ในดินต่อไป นอกจากนี้หากบริเวณผิวของลำต้นมีเพลี้ยแป้งหรือเพลี้ยหอยอาศัยอยู่ก็ไม่ควรนำต้นพันธุ์นั้นมาใช้ปลูกเช่นกัน หรือต้นพันธุ์ที่ได้รับความเสียหายจากการใช้สารเคมีกำจัดวัชพืช เช่น สารพาราควอต ซึ่งเมื่อฉีดพ่นโดนบริเวณที่มีสีเขียวของลำต้นในช่วงอายุ 1 – 4 เดือนหลังปลูก พอลำต้นแก่ เปลือกลำต้นจะมีสีดำ แห้ง และปริแตก ไม่ควรนำมาใช้เป็นท่อนพันธุ์เนื่องจากมีเปอร์เซ็นต์ความงอกต่ำ | ||
== '''ความบริสุทธิ์ของต้นพันธุ์''' <ref name=":0" /> == | == '''ความบริสุทธิ์ของต้นพันธุ์''' <ref name=":0" /> == | ||
การจัดหาต้นพันธุ์มันสำปะหลังควรซื้อจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ และการจัดซื้อควรมีขั้นตอนการตรวจสอบพันธุ์ปนทุกครั้ง โดยตรวจสอบพันธุ์ปน 2 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 เป็นการสุ่มตรวจในแปลงก่อนตัดต้นพันธุ์โดยให้มีพันธุ์ปนไม่เกิน 5 เปอร์เซ็นต์ และตรวจสอบครั้งที่ 2 หลังการตัดต้นพันธุ์ เป็นการสุ่มตรวจในกองต้นพันธุ์ซึ่งควรมีพันธุ์ปนไม่เกิน 2 เปอร์เซ็นต์ ดังนี้ | [[ไฟล์:Image s4.png|thumb|614x614px|'''ภาพที่ 3''' แสดงการตรวจสอบพันธุ์ปนและความสมบูรณ์]]การจัดหาต้นพันธุ์มันสำปะหลังควรซื้อจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ และการจัดซื้อควรมีขั้นตอนการตรวจสอบพันธุ์ปนทุกครั้ง โดยตรวจสอบพันธุ์ปน 2 ครั้ง โดยครั้งที่ 1 เป็นการสุ่มตรวจในแปลงก่อนตัดต้นพันธุ์โดยให้มีพันธุ์ปนไม่เกิน 5 เปอร์เซ็นต์ และตรวจสอบครั้งที่ 2 หลังการตัดต้นพันธุ์ เป็นการสุ่มตรวจในกองต้นพันธุ์ซึ่งควรมีพันธุ์ปนไม่เกิน 2 เปอร์เซ็นต์ ดังนี้ | ||
* '''วิธีการตรวจสอบพันธุ์ปนในแปลงก่อนตัดต้นพันธุ์''' | * '''วิธีการตรวจสอบพันธุ์ปนในแปลงก่อนตัดต้นพันธุ์''' | ||
บรรทัดที่ 46: | บรรทัดที่ 42: | ||
กรณีพื้นที่ปลูกขนาดใหญ่ ควรสร้างแปลงขยายพันธุ์ดีไว้ใช้เองในพื้นที่ หรือขยายพันธุ์เพื่อแจกจ่ายเกษตรกรลูกไร่ของตน โดยเริ่มต้นจากการจัดซื้อพันธุ์ดีจากแหล่งที่เชื่อถือได้มาปลูก และจัดเจ้าหน้าที่หรือนักวิชาการเกษตรสำหรับคัดพันธุ์ปนทิ้งในช่วงที่มันสำปะหลังอายุประมาณ 1 – 2 เดือนหลังปลูก ซึ่งเป็นช่วงที่สามารถจำแนกพันธุ์ได้ง่ายและทำได้สะดวกรวดเร็วกว่าช่วงที่มันสำปะหลังมีอายุมาก นอกจากการตรวจสอบพันธุ์ปนแล้ว ควรตรวจสอบคุณภาพต้นพันธุ์ไปพร้อมกันด้วย เช่น ขนาดและความยาวของต้นพันธุ์ อายุการเก็บรักษาต้นพันธุ์หลังการตัด ความสมบูรณ์ของตา โรคและแมลงที่ติดมากับท่อนพันธุ์ เป็นต้น | กรณีพื้นที่ปลูกขนาดใหญ่ ควรสร้างแปลงขยายพันธุ์ดีไว้ใช้เองในพื้นที่ หรือขยายพันธุ์เพื่อแจกจ่ายเกษตรกรลูกไร่ของตน โดยเริ่มต้นจากการจัดซื้อพันธุ์ดีจากแหล่งที่เชื่อถือได้มาปลูก และจัดเจ้าหน้าที่หรือนักวิชาการเกษตรสำหรับคัดพันธุ์ปนทิ้งในช่วงที่มันสำปะหลังอายุประมาณ 1 – 2 เดือนหลังปลูก ซึ่งเป็นช่วงที่สามารถจำแนกพันธุ์ได้ง่ายและทำได้สะดวกรวดเร็วกว่าช่วงที่มันสำปะหลังมีอายุมาก นอกจากการตรวจสอบพันธุ์ปนแล้ว ควรตรวจสอบคุณภาพต้นพันธุ์ไปพร้อมกันด้วย เช่น ขนาดและความยาวของต้นพันธุ์ อายุการเก็บรักษาต้นพันธุ์หลังการตัด ความสมบูรณ์ของตา โรคและแมลงที่ติดมากับท่อนพันธุ์ เป็นต้น | ||
== อ้างอิง == | == อ้างอิง == |
การแก้ไข