223
การแก้ไข
(ไม่แสดง 6 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
มันสำปะหลังสามารถขยายพันธุ์ได้ทั้งจากเมล็ดและลำต้น แต่การขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดไม่เหมาะสมสำหรับเกษตรกรที่ปลูกเพื่อขายผลผลิตสู่โรงงานแปรรูปหรือเพื่อการค้า เนื่องจากเมล็ดมีระยะพักตัวประมาณ 2 เดือน ทำให้ไม่สะดวกในการปลูกเพื่อการค้า และการปลูกโดยใช้เมล็ดในแปลงปลูกโดยตรง ในระยะต้นอ่อนจะมีความอ่อนแอ เจริญเติบโตช้า ไม่สามารถแข่งขึ้นกับวัชพืชได้ มีจำนวนต้นอยู่รอดน้อย ดังนั้นการขยายพันธุ์มันสำปะหลังด้วยท่อนพันธุ์ที่มีคุณภาพดีเยี่ยม มีผลทำให้ผลผลิตดี<ref>จรุงสิทธิ์ ลิ่มศิลา. 2547. เอกสารวิชาการมันสำปะหลัง พันธุ์และการขยายพันธุ์. ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6</ref> ซึ่งการเตรียมท่อนพันธุ์มันสำปะหลังที่มีข้อพิจารณาดังนี้ | |||
== '''การตัดท่อนพันธุ์''' <ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> == | == '''การตัดท่อนพันธุ์''' <ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> == | ||
บรรทัดที่ 5: | บรรทัดที่ 5: | ||
[[ไฟล์:Image s10.png|center|thumb|319x319px|ภาพแสดงการตัดท่อนพันธุ์ด้วยมีด]] | [[ไฟล์:Image s10.png|center|thumb|319x319px|ภาพแสดงการตัดท่อนพันธุ์ด้วยมีด]] | ||
[[ไฟล์:Image s11.png|center|thumb|323x323px|ภาพแสดงการตัดท่อนพันธุ์ด้วยเครื่องตัดหญ้าติดใบมีด]] | [[ไฟล์:Image s11.png|center|thumb|323x323px|ภาพแสดงการตัดท่อนพันธุ์ด้วยเครื่องตัดหญ้าติดใบมีด]] | ||
== '''อายุต้นพันธุ์ที่เหมาะสม''' == | |||
มันสำปะหลังเป็นพืชที่ขยายพันธุ์ด้วยลำต้น โดยอายุของท่อนพันธุ์ที่เหมาะสมจะอยู่ในช่วง 8 – 12 เดือน ซึ่งเมื่อนำไปปลูกจะมีเปอร์เซ็นต์อยู่รอดถึง 90 – 94 เปอร์เซ็นต์<ref>ไกวัล กล้าแข็ง และวิลาวัลย์ วงษ์เกษม. 2548. การปลูกมันสำปะหลัง. กรมส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี.</ref> | |||
== '''ขนาดของท่อนพันธุ์''' == | |||
ตัดท่อนพันธุ์ยาวประมาณ 20 เซนติเมตร สำหรับปลูกในฤดูฝน และความยาว 25 เซนติเมตรสำหรับปลูกในช่วงปลายฤดูฝน มีตาไม่น้อยกว่า 5 ตาต่อท่อนพันธุ์ ท่อนพันธุ์จากลำต้นจะเจริญเติบโตดีกว่าท่อนพันธุ์จากกิ่งพันธุ์ ควรเลือกต้นพันธุ์ใหม่ สด ไม่บอบช้ำ ไม่มีโรคและแมลงเข้าทำลาย<ref>วิลาวัลย์ วงษ์เกษม และคณะ. 2552. เอกสารคำแนะนำการผลิตมันสำปะหลัง. กรมส่งเสริมการเกษตร</ref> | |||
== '''การแช่ท่อนพันธุ์ด้วยธาตุอาหารพืช''' <ref name=":0" /> == | == '''การแช่ท่อนพันธุ์ด้วยธาตุอาหารพืช''' <ref name=":0" /> == | ||
บรรทัดที่ 11: | บรรทัดที่ 17: | ||
ในกรณีที่พื้นที่ปลูกเป็นดินด่าง (pH > 7.0) หรือต้นพันธุ์ที่จัดหามาปลูกได้มาจากพื้นที่ที่ขาดธาตุสังกะสี (Zn) เมื่อนำต้นพันธุ์จากแหล่งที่ขาดธาตุอาหารดังกล่าวมาปลูก ต้นมันสำปะหลังมักแสดงอาการขาดธาตุสังกะสีตั้งแต่ต้นยังเล็ก วิธีการแก้ไขทำได้โดยการแช่ในสารละลายซิงค์ซัลเฟต (ZnSO<sub>4</sub>) ที่ความเข้มข้น 2 เปอร์เซ็นต์ โดยผสมซิงค์ซัลเฟตในอัตรา 400 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์นานประมาณ 10 นาที ทั้งนี้สามารถแช่ไปพร้อมกับสารเคมีป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งได้ หรือหากไม่สะดวกในการแช่ท่อนพันธุ์สามารถฉีดพ่นธาตุอาหารดังกล่าวทางใบโดยผสมซิงค์ซัลเฟตในอัตรา 800 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น 2 – 3 ครั้ง ทุก 7 วัน ตั้งแต่มันสำปะหลังเริ่มงอกจนถึง 60 วันหลังปลูก หรือจนกว่ามันสำปะหลังจะไม่แสดงอาการขาดธาตุอาหารดังกล่าว | ในกรณีที่พื้นที่ปลูกเป็นดินด่าง (pH > 7.0) หรือต้นพันธุ์ที่จัดหามาปลูกได้มาจากพื้นที่ที่ขาดธาตุสังกะสี (Zn) เมื่อนำต้นพันธุ์จากแหล่งที่ขาดธาตุอาหารดังกล่าวมาปลูก ต้นมันสำปะหลังมักแสดงอาการขาดธาตุสังกะสีตั้งแต่ต้นยังเล็ก วิธีการแก้ไขทำได้โดยการแช่ในสารละลายซิงค์ซัลเฟต (ZnSO<sub>4</sub>) ที่ความเข้มข้น 2 เปอร์เซ็นต์ โดยผสมซิงค์ซัลเฟตในอัตรา 400 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์นานประมาณ 10 นาที ทั้งนี้สามารถแช่ไปพร้อมกับสารเคมีป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งได้ หรือหากไม่สะดวกในการแช่ท่อนพันธุ์สามารถฉีดพ่นธาตุอาหารดังกล่าวทางใบโดยผสมซิงค์ซัลเฟตในอัตรา 800 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น 2 – 3 ครั้ง ทุก 7 วัน ตั้งแต่มันสำปะหลังเริ่มงอกจนถึง 60 วันหลังปลูก หรือจนกว่ามันสำปะหลังจะไม่แสดงอาการขาดธาตุอาหารดังกล่าว | ||
== '''การแช่ท่อนพันธุ์เพื่อป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง''' | == '''การแช่ท่อนพันธุ์เพื่อป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง''' == | ||
หากใช้ท่อนพันธุ์ที่มาจากแหล่งที่มีการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง หรือในพื้นที่ปลูกโดยรอบพบการระบาดของเพลี้ยแป้งอยู่ก่อนแล้ว ควรแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีป้องกันกำจัดแมลงก่อนปลูก สารเคมีที่แนะนำและวิธีการใช้ แสดงใน'''ตารางที่ 1''' | หากใช้ท่อนพันธุ์ที่มาจากแหล่งที่มีการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง หรือในพื้นที่ปลูกโดยรอบพบการระบาดของเพลี้ยแป้งอยู่ก่อนแล้ว ควรแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีป้องกันกำจัดแมลงก่อนปลูก สารเคมีที่แนะนำและวิธีการใช้ แสดงใน'''ตารางที่ 1''' | ||
'''ตารางที่ 1''' สารเคมีป้องกันและกำจัดแมลง อัตราการใช้ และระยะเวลาในการแช่ท่อนพันธุ์ | '''ตารางที่ 1''' สารเคมีป้องกันและกำจัดแมลง อัตราการใช้ และระยะเวลาในการแช่ท่อนพันธุ์<ref name=":1">กรมวิชาการเกษตร. 2554. การจัดทำแปลงขยายท่อนพันธุ์มันสำปะหลังสะอาดและเหมาะสมกับพื้นที่. ห้างหุ้นส่วนจำกัด พี พี พีค พริ้นติ้งแอนด์เซอร์วิส</ref> | ||
{| class="wikitable" | {| class="wikitable" | ||
|'''สารเคมี''' | |'''สารเคมี''' | ||
บรรทัดที่ 32: | บรรทัดที่ 38: | ||
|5 – 10 | |5 – 10 | ||
|} | |} | ||
วิธีการผสมสารเคมีแช่ท่อนพันธุ์ ทำได้โดยการผสมสารเคมีชนิดใดชนิดหนึ่งข้างต้นตามอัตราที่แนะนำ แล้วแช่ท่อนพันธุ์นาน 5 – 10 นาที ไม่ควรแช่นานเกิน 10 นาที เนื่องจากอาจทำให้มันสำปะหลังแสดงอาการเป็นพิษจากฤทธิ์ของสารเคมี และทำให้สิ้นเปลืองเวลาโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกในพื้นที่ขนาดใหญ่ เมื่อแช่เสร็จสามารถนำไปปลูกได้ทันทีหรืออาจผึ่งลมไว้ให้แห้งก่อนปลูกก็ได้ โดยปกติการปลูกในพื้นที่ 1 ไร่ ใช้น้ำแช่ท่อนพันธุ์ประมาณ 80 ลิตร เมื่อแช่ท่อนพันธุ์ 3 – 4 ครั้ง น้ำในถังแช่จะลดลง สามารถผสมสารเคมีในอัตราเดิมหรือความเข้มข้นเท่าเดิมเทเพิ่มลงไปในถังแช่ท่อนพันธุ์ได้โดยไม่ทำให้ความเข้มข้นของสารเคมีเปลี่ยนแปลง จะช่วยกำจัดเพลี้ยแป้งที่ติดมากับท่อนพันธุ์ และสารเคมีจะแทรกซึมเข้าไปในท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง หลังจากมันสำปะหลังงอกแล้วสารฆ่าแมลงจะมีฤทธิ์ป้องกันการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้งได้นานประมาณ 1 เดือน | วิธีการผสมสารเคมีแช่ท่อนพันธุ์ ทำได้โดยการผสมสารเคมีชนิดใดชนิดหนึ่งข้างต้นตามอัตราที่แนะนำ แล้วแช่ท่อนพันธุ์นาน 5 – 10 นาที ไม่ควรแช่นานเกิน 10 นาที เนื่องจากอาจทำให้มันสำปะหลังแสดงอาการเป็นพิษจากฤทธิ์ของสารเคมี และทำให้สิ้นเปลืองเวลาโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกในพื้นที่ขนาดใหญ่ เมื่อแช่เสร็จสามารถนำไปปลูกได้ทันทีหรืออาจผึ่งลมไว้ให้แห้งก่อนปลูกก็ได้ โดยปกติการปลูกในพื้นที่ 1 ไร่ ใช้น้ำแช่ท่อนพันธุ์ประมาณ 80 ลิตร เมื่อแช่ท่อนพันธุ์ 3 – 4 ครั้ง น้ำในถังแช่จะลดลง สามารถผสมสารเคมีในอัตราเดิมหรือความเข้มข้นเท่าเดิมเทเพิ่มลงไปในถังแช่ท่อนพันธุ์ได้โดยไม่ทำให้ความเข้มข้นของสารเคมีเปลี่ยนแปลง จะช่วยกำจัดเพลี้ยแป้งที่ติดมากับท่อนพันธุ์ และสารเคมีจะแทรกซึมเข้าไปในท่อนพันธุ์มันสำปะหลัง หลังจากมันสำปะหลังงอกแล้วสารฆ่าแมลงจะมีฤทธิ์ป้องกันการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้งได้นานประมาณ 1 เดือน<ref name=":1" /> | ||
[[ไฟล์:Image s12.png|center|thumb|336x336px|ภาพแสดงการแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีเพื่อป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง]] | [[ไฟล์:Image s12.png|center|thumb|336x336px|ภาพแสดงการแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีเพื่อป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง]] | ||
บรรทัดที่ 49: | บรรทัดที่ 55: | ||
[[ไฟล์:Image s13.png|center|thumb|340x340px|ภาพแสดงวิธีการเก็บรักษาต้นพันธุ์ที่ดี]] | [[ไฟล์:Image s13.png|center|thumb|340x340px|ภาพแสดงวิธีการเก็บรักษาต้นพันธุ์ที่ดี]] | ||
== อ้างอิง == | == '''อ้างอิง''' == |
การแก้ไข