80
การแก้ไข
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
มันสำปะหลังจัดเป็นพืชที่ปลูกได้ง่าย และมีการดูแลรักษาไม่ยุ่งยากเหมือนพืชชนิดอื่น นอกจากนี้ยังสามารถปลูกได้ดีในสภาพอากาศของประเทศไทย สามารถเก็บเกี่ยวได้ในช่วง 8 - 12 เดือนหลังปลูก แต่พอว่าการศึกษาเกี่ยวกับโรคของมันสำปะหลังที่ผ่านมายังไม่ค่อยได้รับความสนใจมากนัก อาจเนื่องมาจากยังไม่มีการระบาดที่ทำความเสียหายได้อย่างชัดเจน เหมือนกับการทำลายของแมลง ประกอบกับการเข้าใจผิดที่ว่ามันสำปะหลังไม่มีโรครบกวน แต่ที่จริงแล้วมีโรคไม่น้อยที่เกิดขึ้นในมันสำปะหลัง (Hillocks ''et. al''., 2002)<ref>Hillocks, R.J., M.J. Thresh and C.A. Bellotti. 2002. Cassava: Biology, Production and Utilization. CABI Publishing. London, UK.</ref> โดยมีสาเหตุมาจากสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด ได้แก่ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคใบจุดสีน้ำตาล โรครากเน่าและหัวเน่า โรคเน่าเปียก โรครากปม (กลุ่มวิจัยโรคพืช, 2559<ref>กลุ่มวิจัยโรคพืช. 2559. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.</ref>; อุดมศักดิ์, 2555<ref>อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช. 2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>; ศานิต, 2557)<ref>ศานิต สวัสดิกาญจน์. 2557. พืชอุตสาหกรรม(Industrial Field crops). โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. กรุงเทพมหานคร.</ref> และอาการขาดธาตุในมันสำปะหลัง ในปัจจุบันพบว่าโรคใบด่างมันสำปะหลังเกิดจากเชื้อไวรัส Cassava Mosaic Virus หากมีการระบาดรุนแรงสามารถส่งผลกระทบต่อผลผลิตมันสำปะหลังได้มากถึงร้อยละ 80 – 100 (ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ, 2563)<ref>ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ. 2563. วิเคราะห์สถานการณ์โรคใบด่างมันสำปะหลัง. สำนักงานเศรษฐกิจเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. ที่มา: <nowiki>https://www.nabc.go.th/disaster/baidang</nowiki>. 8 กุมภาพันธ์ 2564.</ref> | มันสำปะหลังจัดเป็นพืชที่ปลูกได้ง่าย และมีการดูแลรักษาไม่ยุ่งยากเหมือนพืชชนิดอื่น นอกจากนี้ยังสามารถปลูกได้ดีในสภาพอากาศของประเทศไทย สามารถเก็บเกี่ยวได้ในช่วง 8 - 12 เดือนหลังปลูก แต่พอว่าการศึกษาเกี่ยวกับโรคของมันสำปะหลังที่ผ่านมายังไม่ค่อยได้รับความสนใจมากนัก อาจเนื่องมาจากยังไม่มีการระบาดที่ทำความเสียหายได้อย่างชัดเจน เหมือนกับการทำลายของแมลง ประกอบกับการเข้าใจผิดที่ว่ามันสำปะหลังไม่มีโรครบกวน แต่ที่จริงแล้วมีโรคไม่น้อยที่เกิดขึ้นในมันสำปะหลัง (Hillocks ''et. al''., 2002)<ref>Hillocks, R.J., M.J. Thresh and C.A. Bellotti. 2002. Cassava: Biology, Production and Utilization. CABI Publishing. London, UK.</ref> โดยมีสาเหตุมาจากสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด ได้แก่ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคใบจุดสีน้ำตาล โรครากเน่าและหัวเน่า โรคเน่าเปียก โรครากปม (กลุ่มวิจัยโรคพืช, 2559<ref>กลุ่มวิจัยโรคพืช. 2559. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.</ref>; อุดมศักดิ์, 2555<ref>อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช. 2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>; ศานิต, 2557)<ref>ศานิต สวัสดิกาญจน์. 2557. พืชอุตสาหกรรม(Industrial Field crops). โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. กรุงเทพมหานคร.</ref> และอาการขาดธาตุในมันสำปะหลัง ในปัจจุบันพบว่าโรคใบด่างมันสำปะหลังเกิดจากเชื้อไวรัส Cassava Mosaic Virus หากมีการระบาดรุนแรงสามารถส่งผลกระทบต่อผลผลิตมันสำปะหลังได้มากถึงร้อยละ 80 – 100 (ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ, 2563)<ref>ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ. 2563. วิเคราะห์สถานการณ์โรคใบด่างมันสำปะหลัง. สำนักงานเศรษฐกิจเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. ที่มา: <nowiki>https://www.nabc.go.th/disaster/baidang</nowiki>. 8 กุมภาพันธ์ 2564.</ref> | ||
# [[โรคใบไหม้ (Cassava bacterial blight)|'''โรคใบไหม้ (Cassava bacterial blight)''']] | |||
# [[โรคใบจุดสีน้ำตาล (brown leaf spot disease)|'''โรคใบจุดสีน้ำตาล (brown leaf spot disease)''']] | |||
# '''[[โรคใบด่างมันสำปะหลัง (Cassava mosaic disease)]]''' | |||
# '''[[โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)]]''' | |||
# '''[[โรครากเน่าและหัวเน่า (Root and tuber rot)]]''' | |||
# '''[[โรครากปมมันสำปะหลัง (cassava Root-knot)]]''' | |||
'''[[โรคลำต้นไหม้ (stem blight disease)]]''' | #'''[[โรคลำต้นไหม้ (stem blight disease)]]''' | ||
#'''[[โรคพุ่มแจ้ (witches broom)]]''' | |||
# '''[[โรคเน่าเปียก (Wet rot)]]''' | |||
== อ้างอิง == | == อ้างอิง == | ||
* | * |
การแก้ไข