ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาการขาดธาตุอาหาร"

ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
(สร้างหน้าด้วย "พืชที่แสดงความผิดปกติต่างมีสาเหตุหลัก 2 สาเหตุคือการแ...")
 
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
พืชที่แสดงความผิดปกติต่างมีสาเหตุหลัก 2 สาเหตุคือการแสดงอาการโรคพืชที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเข้าทำลาย และการแสดงอาการของโรคที่เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งโรคที่เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิตจะมีสาเหตุดังเช่น การขาดปุ๋ย ขาดธาตุอาหารรอง สภาพดินที่มีความเป็นกรดเป็นด่างมากเกินไป หรือดินเปรี้ยว สภาพอากาศที่ร้อนจัด หรือเย็นจัด ตลอดจนความร้อนหรือแสงมากหรือน้อยเกินไป รวมไปถึงการขาดออกซิเจน เกิดมลภาวะหรืออากาศเป็นพิษ ทั้งหมดล้วนส่งผลให้พืชเจริญเติบโตผิดปกติมีขนาดเล็กและโตช้า  
พืชที่แสดงความผิดปกติต่างมีสาเหตุหลัก 2 สาเหตุคือการแสดงอาการโรคพืชที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตเข้าทำลาย และการแสดงอาการของโรคที่เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งโรคที่เกิดจากสิ่งไม่มีชีวิตจะมีสาเหตุดังเช่น การขาดปุ๋ย ขาดธาตุอาหารรอง สภาพดินที่มีความเป็นกรดเป็นด่างมากเกินไป หรือดินเปรี้ยว สภาพอากาศที่ร้อนจัด หรือเย็นจัด ตลอดจนความร้อนหรือแสงมากหรือน้อยเกินไป รวมไปถึงการขาดออกซิเจน เกิดมลภาวะหรืออากาศเป็นพิษ ทั้งหมดล้วนส่งผลให้พืชเจริญเติบโตผิดปกติมีขนาดเล็กและโตช้า  


การขาดธาตุอาหารในพืช ตามปกติขาดธาตุอาหารรอง (Secondary macronutrients) และธาตุอาหารเสริม (Micronutrients) ต่างๆ โดยส่วนใหญ่ไม่ใช่ธาตุอาหารหลัก (Primary macronutrients) ได้แก่ธาตุ N P K ซึ่งมีอยู่ในดินเพียงพอต่อความต้องการของพืชอยู่แล้ว แต่อยู่ในรูปที่พืชไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ โดยพืชที่ปลูกในดินที่เป็นด่างจัด มักมีปัญหาเรื่องการขาดธาตุแมงกานีส ในขณะที่ปลูกในดินที่มีความเป็นกรดจัด จะมีเกลือของแมงกานีสและอลูมิเนียมอยู่ในรูปที่พืชเอาไปใช้ประโยชน์ได้ แต่มากจนเกินไปซึ่งอาจทำให้เป็นพิษต่อพืชได้ (พิสุทธิ์. 2563)  
การขาดธาตุอาหารในพืช ตามปกติขาดธาตุอาหารรอง (Secondary macronutrients) และธาตุอาหารเสริม (Micronutrients) ต่างๆ โดยส่วนใหญ่ไม่ใช่ธาตุอาหารหลัก (Primary macronutrients) ได้แก่ธาตุ N P K ซึ่งมีอยู่ในดินเพียงพอต่อความต้องการของพืชอยู่แล้ว แต่อยู่ในรูปที่พืชไม่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ โดยพืชที่ปลูกในดินที่เป็นด่างจัด มักมีปัญหาเรื่องการขาดธาตุแมงกานีส ในขณะที่ปลูกในดินที่มีความเป็นกรดจัด จะมีเกลือของแมงกานีสและอลูมิเนียมอยู่ในรูปที่พืชเอาไปใช้ประโยชน์ได้ แต่มากจนเกินไปซึ่งอาจทำให้เป็นพิษต่อพืชได้ (พิสุทธิ์. 2563)<ref>พิสุทธิ์ เอกอำนวย.  2563. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. บริษัททอมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>


* '''[[ลักษณะการขาดธาตุอาหาร]]'''
* '''[[ลักษณะการขาดธาตุอาหาร]]'''
* [[วิธีการแก้ไขอาการขาดธาตุ]]
* [[วิธีการแก้ไขอาการขาดธาตุ]]
== อ้างอิง ==
*

รายการนำทางไซต์