ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจัดการโรค"

เพิ่มขึ้น 89 ไบต์ ,  09:24, 3 ธันวาคม 2564
บรรทัดที่ 2: บรรทัดที่ 2:


== '''โรคใบไหม้ (Cassava bacterial blight)''' ==
== '''โรคใบไหม้ (Cassava bacterial blight)''' ==
[[ไฟล์:ใบไหม้.png|thumb|อาการของใบที่เป็นโรคใบไหม้ (ภาพเอื้อเฟื้อจาก ดร.อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช)|left]]
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ''Xanthomonas axonopodis'' pv. ''Manihotis'' (ชื่อเดิม ''X. campestris'' pv. ''manihotis'') พบว่ามีรายงานการแพร่ระบาดมาจากลาตินอเมริกาตั้งแต่ก่อนปี 1900 ต่อมาได้แพร่ระบาดไปยังทวีปแอฟริกา และแพร่ระบาดเข้ามาในทวีปเอเชียในปี 1970 รวมทั้งในประเทศไทยด้วย ในทวีปแอฟริกาโรคนี้มีความสำคัญรองลงมาจากโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส โดยทำให้ผลผลิตเสียหาย 7.5 ล้านตันต่อปี
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ''Xanthomonas axonopodis'' pv. ''Manihotis'' (ชื่อเดิม ''X. campestris'' pv. ''manihotis'') พบว่ามีรายงานการแพร่ระบาดมาจากลาตินอเมริกาตั้งแต่ก่อนปี 1900 ต่อมาได้แพร่ระบาดไปยังทวีปแอฟริกา และแพร่ระบาดเข้ามาในทวีปเอเชียในปี 1970 รวมทั้งในประเทศไทยด้วย ในทวีปแอฟริกาโรคนี้มีความสำคัญรองลงมาจากโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส โดยทำให้ผลผลิตเสียหาย 7.5 ล้านตันต่อปี


=== ลักษณะอาการ ===
=== ลักษณะอาการ ===
[[ไฟล์:ใบไหม้.png|thumb|อาการของใบที่เป็นโรคใบไหม้ (ภาพเอื้อเฟื้อจาก ดร.อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช)]]
โรคใบไหม้ (Cassava bacterial blight) อาการเริ่มแรกใบจะมีลักษณะเป็นจุดฉ่ำน้ำอยู่ระหว่างเส้นใบ จุดหรือแผลใบจึงมีรูปร่างเป็นเหลี่ยม เมื่ออาการพัฒนามากขึ้นจึงทำให้ใบไหม้และมีหยดเชื้อสีขาวขุ่นอยู่ใต้ใบซึ่งเป็นกลุ่มของแบคทีเรีย (bacterial ooze) อาการของโรคส่วนมากเกิดกับใบที่อยู่ส่วนกลางของทรงพุ่มใกล้ระดับดินก่อน เมื่อเชื้อลุกลามเข้าสู่ก้านใบทำให้ใบเหี่ยว หลุดร่วง และทำให้แห้งตายได้ เมื่อผ่าดูระบบท่อน้ำท่ออาหารของลำต้นจะมีสีคล้ำ เนื่องจากเนื้อเยื่อถูกทำลาย ในต้นที่มีอาการรุนแรงจะพบอาการยางไหลบนก้านใบหรือลำต้นที่ยังอ่อนได้อีกด้วย
โรคใบไหม้ (Cassava bacterial blight) อาการเริ่มแรกใบจะมีลักษณะเป็นจุดฉ่ำน้ำอยู่ระหว่างเส้นใบ จุดหรือแผลใบจึงมีรูปร่างเป็นเหลี่ยม เมื่ออาการพัฒนามากขึ้นจึงทำให้ใบไหม้และมีหยดเชื้อสีขาวขุ่นอยู่ใต้ใบซึ่งเป็นกลุ่มของแบคทีเรีย (bacterial ooze) อาการของโรคส่วนมากเกิดกับใบที่อยู่ส่วนกลางของทรงพุ่มใกล้ระดับดินก่อน เมื่อเชื้อลุกลามเข้าสู่ก้านใบทำให้ใบเหี่ยว หลุดร่วง และทำให้แห้งตายได้ เมื่อผ่าดูระบบท่อน้ำท่ออาหารของลำต้นจะมีสีคล้ำ เนื่องจากเนื้อเยื่อถูกทำลาย ในต้นที่มีอาการรุนแรงจะพบอาการยางไหลบนก้านใบหรือลำต้นที่ยังอ่อนได้อีกด้วย
[[ไฟล์:Image.png|thumb|อาการของต้นที่เป็นโรคใบไหม้ (ภาพเอื้อเฟื้อจาก ดร.อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช)]]
[[ไฟล์:Image.png|thumb|อาการของต้นที่เป็นโรคใบไหม้ (ภาพเอื้อเฟื้อจาก ดร.อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช)]]
บรรทัดที่ 18: บรรทัดที่ 18:


== '''โรคใบจุดสีน้ำตาล (brown leaf spot disease)''' ==
== '''โรคใบจุดสีน้ำตาล (brown leaf spot disease)''' ==
[[ไฟล์:Image4.png|thumb|ลักษณะอาการของโรคใบจุดสีน้ำตาลบริเวณใบมันสำปะหลัง]]  
[[ไฟล์:536.png|left|thumb|506x506px|ลักษณะอาการของโรคใบจุดสีน้ำตาลบริเวณใบมันสำปะหลัง]]


=== ลักษณะอาการ ===
=== ลักษณะอาการ ===
บรรทัดที่ 31: บรรทัดที่ 31:
ใช้สารเคมี เช่น สารประกอบทองแดง (copper compound) หรือสารเบโนมิล (benomyl) พ่นให้ทั่วบริเวณที่เป็นโรคอย่างน้อย 1-2 ครั้ง เพื่อลดการระบาดของโรค การใช้พันธุ์ต้านทาน และควรกำจัดใบที่เป็นโรคออกจากแปลง
ใช้สารเคมี เช่น สารประกอบทองแดง (copper compound) หรือสารเบโนมิล (benomyl) พ่นให้ทั่วบริเวณที่เป็นโรคอย่างน้อย 1-2 ครั้ง เพื่อลดการระบาดของโรค การใช้พันธุ์ต้านทาน และควรกำจัดใบที่เป็นโรคออกจากแปลง
[[หมวดหมู่:โรค]]
[[หมวดหมู่:โรค]]
[[ไฟล์:Image6.png|thumb|ลักษณะอาการโรคใบด่างมันสำปะหลังบริเวณใบของมันสำปะหลัง]]
เชื้อสาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัส ''Cassava Mosaic Virus'' อยู่ในวงศ์ (Family) Geminiviridae สกุล (Genus)  Begomovirus โดยมีชนิดของสารพันธุ์กรรมเป็น ดีเอ็นเอสายเดี่ยวขดเป็นวง ที่มีจำนวน 2 โมเลกุล (Bipartite genomes) เรียกว่า DNA-A และ DNA-B (สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช. 2561) ถิ่นกำเนิดเดิมอยู่ในทางแอฟริกา โดยมีชื่อว่า ''African Cassava Virus'' (ACMV) ทั่วโลกเรียกว่า ACMV จนมาเจอเชื้อที่มีลักษณะเหมือน ACMV แต่ไม่ทำปฏิกิริยากับเซรุ่มวิทยากับ anti ACMV โดยพบการระบาดอยู่ในประเทศ เคนย่า ทางทิศตะวันออกของทวีปจึงได้ชื่อว่า ''East African Cassava Mosaic Virus'' (EACMV) เพื่อให้ทราบว่าเชื้อมีถิ่นกำเนิดทางภาคตะวันออก จากนั้นได้มีการพบเชื้อเพิ่มขึ้นอีกหลายชนิดในแถบแอฟริกา และอีก 2 ชนิดในแถบอินเดียและศรีลังกา คือ ''Indian Cassava Mosaic Virus'' (ICMV) และ ''Srilankan Cassava Mosaic Virus'' (SLCMV) จากนั้นได้มีการระบาดครั้งแรกในปี 2559 ทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ประเทศเวียดนาม และกัมพูชา สายพันธุ์ ''Sri Lankan cassava mosaic virus'' (SLCMV) ต่อมาในปี 2561 ได้มีการรายงานพบโรคใบด่างมันสำปะหลังในประเทศไทย จังหวัด ปราจีนบุรี สุรินทร์ และศรีสะเกษ จากกรมวิชาการเกษตร และได้ดำเนินการกำจัดเรียบร้อย จากนั้นพบอาการใบด่างในจังหวัดสระแก้ว ในปี 2562 (ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ, 2563<ref>ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ.  2563. วิเคราะห์สถานการณ์โรคใบด่างมันสำปะหลัง. สำนักงานเศรษฐกิจเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. ที่มา: <nowiki>https://www.nabc.go.th/disaster/baidang</nowiki>. 8 กุมภาพันธ์ 2564.</ref>) และได้มีการพบการแพร่ระบาดในพื้นที่ 29 จังหวัด พื้นที่ระบาดรวมทั้งสิ้น 442,564 ไร่ โดยจังหวัดที่มีการแพร่ระบาดมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ นครราชสีมา สระแก้ว และบุรีรัมย์ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563<ref>สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร.  2563.  สศก. ลุยโคราช แหล่งระบาดใหญ่ โรคใบด่างมันฯ แนะเกษตรกรหมั่นสังเกต หากพบรีบแจ้ง จนท./ผู้นำชุมชน. กระทรงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. ที่มา: <nowiki>http://www.oae.go.th/view/1/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%94%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%20%E0%B8%AA%E0%B8%A8%E0%B8%81./34863/TH-TH</nowiki>. 8 กุมภาพันธ์ 2564.</ref>) ซึ่งสร้างความเสียหายต่อผลผลิต 80 – 100%
เชื้อสาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัส ''Cassava Mosaic Virus'' อยู่ในวงศ์ (Family) Geminiviridae สกุล (Genus)  Begomovirus โดยมีชนิดของสารพันธุ์กรรมเป็น ดีเอ็นเอสายเดี่ยวขดเป็นวง ที่มีจำนวน 2 โมเลกุล (Bipartite genomes) เรียกว่า DNA-A และ DNA-B (สำนักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช. 2561) ถิ่นกำเนิดเดิมอยู่ในทางแอฟริกา โดยมีชื่อว่า ''African Cassava Virus'' (ACMV) ทั่วโลกเรียกว่า ACMV จนมาเจอเชื้อที่มีลักษณะเหมือน ACMV แต่ไม่ทำปฏิกิริยากับเซรุ่มวิทยากับ anti ACMV โดยพบการระบาดอยู่ในประเทศ เคนย่า ทางทิศตะวันออกของทวีปจึงได้ชื่อว่า ''East African Cassava Mosaic Virus'' (EACMV) เพื่อให้ทราบว่าเชื้อมีถิ่นกำเนิดทางภาคตะวันออก จากนั้นได้มีการพบเชื้อเพิ่มขึ้นอีกหลายชนิดในแถบแอฟริกา และอีก 2 ชนิดในแถบอินเดียและศรีลังกา คือ ''Indian Cassava Mosaic Virus'' (ICMV) และ ''Srilankan Cassava Mosaic Virus'' (SLCMV) จากนั้นได้มีการระบาดครั้งแรกในปี 2559 ทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ประเทศเวียดนาม และกัมพูชา สายพันธุ์ ''Sri Lankan cassava mosaic virus'' (SLCMV) ต่อมาในปี 2561 ได้มีการรายงานพบโรคใบด่างมันสำปะหลังในประเทศไทย จังหวัด ปราจีนบุรี สุรินทร์ และศรีสะเกษ จากกรมวิชาการเกษตร และได้ดำเนินการกำจัดเรียบร้อย จากนั้นพบอาการใบด่างในจังหวัดสระแก้ว ในปี 2562 (ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ, 2563<ref>ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ.  2563. วิเคราะห์สถานการณ์โรคใบด่างมันสำปะหลัง. สำนักงานเศรษฐกิจเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. ที่มา: <nowiki>https://www.nabc.go.th/disaster/baidang</nowiki>. 8 กุมภาพันธ์ 2564.</ref>) และได้มีการพบการแพร่ระบาดในพื้นที่ 29 จังหวัด พื้นที่ระบาดรวมทั้งสิ้น 442,564 ไร่ โดยจังหวัดที่มีการแพร่ระบาดมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ นครราชสีมา สระแก้ว และบุรีรัมย์ (สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563<ref>สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร.  2563.  สศก. ลุยโคราช แหล่งระบาดใหญ่ โรคใบด่างมันฯ แนะเกษตรกรหมั่นสังเกต หากพบรีบแจ้ง จนท./ผู้นำชุมชน. กระทรงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. ที่มา: <nowiki>http://www.oae.go.th/view/1/%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%94%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%20%E0%B8%AA%E0%B8%A8%E0%B8%81./34863/TH-TH</nowiki>. 8 กุมภาพันธ์ 2564.</ref>) ซึ่งสร้างความเสียหายต่อผลผลิต 80 – 100%


== '''โรคใบด่างมันสำปะหลัง (Cassava mosaic disease)''' ==
== '''โรคใบด่างมันสำปะหลัง (Cassava mosaic disease)''' ==
 
[[ไฟล์:Image6.png|thumb|ลักษณะอาการโรคใบด่างมันสำปะหลังบริเวณใบของมันสำปะหลัง|left]]
[[ไฟล์:Image5.png|thumb|ลักษณะอาการโรคใบด่างมันสำปะหลังบริเวณใบของมันสำปะหลัง]]
=== ลักษณะอาการ ===
=== ลักษณะอาการ ===
[[ไฟล์:Image5.png|thumb|ลักษณะอาการโรคใบด่างมันสำปะหลังบริเวณใบของมันสำปะหลัง]]
มันสำปะหลังที่แสดงอาการของโรคใบด่างจะแสดงอาการใบด่างเหลือง ใบเสียรูปทรง ยอดที่แตกใหม่จะแสดงอาการด่างเหลือง ลำต้นมีลักษณะแคระแกร็น หัวมันสำปะหลังมีขนาดเล็กกว่าปกติ โดยอาการจะเริ่มต้นที่ใบยอดก่อนโดยเริ่มจากอาการเส้นใบใส จากนั้นเปลี่ยนเป็นใบด่างคล้ายลายหินขัด (mosaic) ในเนื้อใบส่วนที่มีสีซีดมักบางหรือเจริญลดลงทำให้ใบมีลักษณะผิดรูป (distort) หรือบิดเบี้ยว (crinkling) ในมันสำปะหลังบางพันธ์ หรือในสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของมันสำปะหลัง อาจแสดงอาการของโรคไม่ชัดเจน เนื่องมาจากมีการตอบโต้ป้องกันตัวเองจากมันสำปะหลัง ในขณะที่มีการปลูกมันสำปะหลังในพันธุ์เดิมพื้นที่เดิม อาจส่งผลให้เกิดการระบาดรุนแรงขึ้น หากเกิดการกลายพันธุ์หรือมีการเข้าทำลายร่วมกับเชื้อชนิดอื่น จะส่งผลให้มันสำปะหลังที่เป็นโรคมีขนาดหัวมัน จำนวน และเปอร์เซ็นต์แป้งลดลง (โสภณ, 2560<ref>โสภณ วงศ์แก้ว.  2560.  ไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง: วายร้ายระดับโลก. </ref>)
มันสำปะหลังที่แสดงอาการของโรคใบด่างจะแสดงอาการใบด่างเหลือง ใบเสียรูปทรง ยอดที่แตกใหม่จะแสดงอาการด่างเหลือง ลำต้นมีลักษณะแคระแกร็น หัวมันสำปะหลังมีขนาดเล็กกว่าปกติ โดยอาการจะเริ่มต้นที่ใบยอดก่อนโดยเริ่มจากอาการเส้นใบใส จากนั้นเปลี่ยนเป็นใบด่างคล้ายลายหินขัด (mosaic) ในเนื้อใบส่วนที่มีสีซีดมักบางหรือเจริญลดลงทำให้ใบมีลักษณะผิดรูป (distort) หรือบิดเบี้ยว (crinkling) ในมันสำปะหลังบางพันธ์ หรือในสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของมันสำปะหลัง อาจแสดงอาการของโรคไม่ชัดเจน เนื่องมาจากมีการตอบโต้ป้องกันตัวเองจากมันสำปะหลัง ในขณะที่มีการปลูกมันสำปะหลังในพันธุ์เดิมพื้นที่เดิม อาจส่งผลให้เกิดการระบาดรุนแรงขึ้น หากเกิดการกลายพันธุ์หรือมีการเข้าทำลายร่วมกับเชื้อชนิดอื่น จะส่งผลให้มันสำปะหลังที่เป็นโรคมีขนาดหัวมัน จำนวน และเปอร์เซ็นต์แป้งลดลง (โสภณ, 2560<ref>โสภณ วงศ์แก้ว.  2560.  ไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง: วายร้ายระดับโลก. </ref>)


=== การแพร่ระบาด ===
=== การแพร่ระบาด ===
บรรทัดที่ 47: บรรทัดที่ 47:


== '''โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)''' ==
== '''โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)''' ==
[[ไฟล์:Image5360.png|left|thumb|434x434px|ลักษณะอาการของโรคแอนแทรคโนสบริเวณยอด ก้านใบ และกิ่ง ของมันสำปะหลัง]]
[[หมวดหมู่:โรค]]
[[หมวดหมู่:โรค]]
=== ลักษณะอาการ ===
=== ลักษณะอาการ ===
[[ไฟล์:Image7.png|thumb|ลักษณะอาการของโรคแอนแทรคโนสบริเวณยอด ก้านใบ และกิ่ง ของมันสำปะหลัง]]
จะแสดงอาการในส่วนของยอด ลำต้น ก้านใบ และใบ โดยในส่วนยอดจะแสดงอาการยอดตายแผลมีขอบชัดเจน สีน้ำตาลถึงดำ ก้านใบจะแสดงเป็นรอยไหม้ที่โคนก้านใบติดกับลำต้น และก้านใบที่อยู่ติดกับตัวใบหักลู่ลงในที่สุดจะหลุดร่วงทั้งต้น ใบ มีอาการไหม้ที่ขอบใบ และปลายใบ ขยายตัวเข้าสู่กลางใบและไหม้หมดในที่สุด  ถ้าเป็นพันธุ์ที่อ่อนแอมาก จะมีอาการยืนต้นตาย หรือพันธุ์ที่ค่อนข้างทนทานต่อโรค ยอดจะหักทำให้มีการแตกกิ่งหรือยอดใหม่มาทดแทน นอกจากนี้ยังส่งผลต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์และท่อนพันธุ์ที่นำไปปลูก ทำให้อัตราการงอกและความสมบูรณ์ของต้นลดลง (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>
จะแสดงอาการในส่วนของยอด ลำต้น ก้านใบ และใบ โดยในส่วนยอดจะแสดงอาการยอดตายแผลมีขอบชัดเจน สีน้ำตาลถึงดำ ก้านใบจะแสดงเป็นรอยไหม้ที่โคนก้านใบติดกับลำต้น และก้านใบที่อยู่ติดกับตัวใบหักลู่ลงในที่สุดจะหลุดร่วงทั้งต้น ใบ มีอาการไหม้ที่ขอบใบ และปลายใบ ขยายตัวเข้าสู่กลางใบและไหม้หมดในที่สุด  ถ้าเป็นพันธุ์ที่อ่อนแอมาก จะมีอาการยืนต้นตาย หรือพันธุ์ที่ค่อนข้างทนทานต่อโรค ยอดจะหักทำให้มีการแตกกิ่งหรือยอดใหม่มาทดแทน นอกจากนี้ยังส่งผลต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์และท่อนพันธุ์ที่นำไปปลูก ทำให้อัตราการงอกและความสมบูรณ์ของต้นลดลง (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>


บรรทัดที่ 88: บรรทัดที่ 88:


== '''โรคลำต้นไหม้ (stem blight disease)''' ==
== '''โรคลำต้นไหม้ (stem blight disease)''' ==
[[ไฟล์:Image593.png|left|thumb|731x731px|กษณะอาการของโรคลำต้นไหม้บริเวณลำต้นของมันสำปะหลัง]]
[[หมวดหมู่:โรค]]
[[หมวดหมู่:โรค]]
เชื้อสาเหตุเกิดจากเชื้อรา ''Phoma eupyrena'' มีการเริ่มระบาดในปี 2557 ในหลายพื้นที่ของจังหวัดกำแพงเพชร นครสวรรค์ ระยอง สระแก้ว สระบุรี นครราชสีมา กาฬสินธุ์ และอุบลราชธานี ส่งผลให้เกษตรกรเกิดการขาดแคลนท่อนพันธุ์  เนื่องจากโรคดังกล่าวมีการแพร่ระบาดไปกับท่อนพันธุ์ได้ ทำให้มันสำปะหลังแห้งตายตั้งแต่ระยะ 1 – 2 เดือน
เชื้อสาเหตุเกิดจากเชื้อรา ''Phoma eupyrena'' มีการเริ่มระบาดในปี 2557 ในหลายพื้นที่ของจังหวัดกำแพงเพชร นครสวรรค์ ระยอง สระแก้ว สระบุรี นครราชสีมา กาฬสินธุ์ และอุบลราชธานี ส่งผลให้เกษตรกรเกิดการขาดแคลนท่อนพันธุ์  เนื่องจากโรคดังกล่าวมีการแพร่ระบาดไปกับท่อนพันธุ์ได้ ทำให้มันสำปะหลังแห้งตายตั้งแต่ระยะ 1 – 2 เดือน


=== ลักษณะอาการ ===
=== ลักษณะอาการ ===
[[ไฟล์:Image9.png|thumb|ลักษณะอาการของโรคลำต้นไหม้บริเวณลำต้นของมันสำปะหลัง]]
เชื้อรามีการเข้าทำลายตรงรอยตัดส่วนบนของท่อนพันธุ์ ทำให้ยอดด้านบนแห้งตาย และเชื้อลามลงมาสู่โคนต้น บริเวณเปลือกลำต้นจะมีรอยปริแตก เป็นกลุ่มสปอร์เป็นเม็ดกลมสีดำปรากฏอยู่จำนวนมาก เมื่อยอดถูกทำลายจะทำให้มันสำปะหลังแตกตาข้างมากกว่าปกติ หากอาการรุนแรงต้นกล้าจะแสดงอาการใบเหลือง แห้ง ร่วง และยืนต้นตายในที่สุด
เชื้อรามีการเข้าทำลายตรงรอยตัดส่วนบนของท่อนพันธุ์ ทำให้ยอดด้านบนแห้งตาย และเชื้อลามลงมาสู่โคนต้น บริเวณเปลือกลำต้นจะมีรอยปริแตก เป็นกลุ่มสปอร์เป็นเม็ดกลมสีดำปรากฏอยู่จำนวนมาก เมื่อยอดถูกทำลายจะทำให้มันสำปะหลังแตกตาข้างมากกว่าปกติ หากอาการรุนแรงต้นกล้าจะแสดงอาการใบเหลือง แห้ง ร่วง และยืนต้นตายในที่สุด


บรรทัดที่ 127: บรรทัดที่ 127:


== '''โรคพุ่มแจ้ (witches broom)''' ==
== '''โรคพุ่มแจ้ (witches broom)''' ==
[[ไฟล์:Image6666.png|left|thumb|496x496px|ลักษณะอาการแตกยอดมีลักษณะเป็นพุ่มของโรคแตกพุ่มแจ้ของมันสำปะหลัง]]
เชื้อสาเหตุเกิดจากเชื้อ ไฟโตพลาสมา (''Phytoplasma'') พบการระบาดครั้งแรกในไป พ.ศ. 2557 ที่จังหวัดระยอง ต่อมาพบการระบากในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังภาคตะวันออก และบางอำเภอในจังหวัดกำแพงเพชร และนครราชสีมา
เชื้อสาเหตุเกิดจากเชื้อ ไฟโตพลาสมา (''Phytoplasma'') พบการระบาดครั้งแรกในไป พ.ศ. 2557 ที่จังหวัดระยอง ต่อมาพบการระบากในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังภาคตะวันออก และบางอำเภอในจังหวัดกำแพงเพชร และนครราชสีมา


=== ลักษณะอาการ ===
=== ลักษณะอาการ ===
[[ไฟล์:Image10.png|thumb|ลักษณะอาการแตกยอดมีลักษณะเป็นพุ่มของโรคแตกพุ่มแจ้ของมันสำปะหลัง]]
บริเวณยอกจะมีการแตกยอดมากกว่าปกติ ข้อปล้องสั้น และใบมีขนาดเล็กลง สังเกตได้จากยอดมีลักษณะเป็นพุ่ม เมื่อทำการลอกเปลือกออกดูจะพบใต้เปลือกมีเส้นสีดำเป็นแนวยาว ส่งผลให้แสดงอาการยอดเป็นพุ่ม ใบเหลือง และยืนต้นตายในที่สุด  ในระยะมันสำปะหลังอายุ 4-5 เดือน พบต้นมีลักษณะแคระแกรนแตกยอดเป็นพุ่มฝอย ในระยะเก็บเกี่ยวเชื้อลามลงหัว ทำให้หัวมีเส้นสีดำตามแนวยาวอยู่ใต้เปลือก คุณภาพผลผลิตเสียหาย และเปอร์เซ็นต์แป้งต่ำ
บริเวณยอกจะมีการแตกยอดมากกว่าปกติ ข้อปล้องสั้น และใบมีขนาดเล็กลง สังเกตได้จากยอดมีลักษณะเป็นพุ่ม เมื่อทำการลอกเปลือกออกดูจะพบใต้เปลือกมีเส้นสีดำเป็นแนวยาว ส่งผลให้แสดงอาการยอดเป็นพุ่ม ใบเหลือง และยืนต้นตายในที่สุด  ในระยะมันสำปะหลังอายุ 4-5 เดือน พบต้นมีลักษณะแคระแกรนแตกยอดเป็นพุ่มฝอย ในระยะเก็บเกี่ยวเชื้อลามลงหัว ทำให้หัวมีเส้นสีดำตามแนวยาวอยู่ใต้เปลือก คุณภาพผลผลิตเสียหาย และเปอร์เซ็นต์แป้งต่ำ


บรรทัดที่ 143: บรรทัดที่ 143:


[[หมวดหมู่:โรค]]
[[หมวดหมู่:โรค]]
[[ไฟล์:Image11.png|thumb|แสดงลักษณะอาการของโรคเน่าเปียกในมันสำปะหลัง]]
[[ไฟล์:Image9632.png|left|thumb|648x648px|แสดงลักษณะอาการของโรคเน่าเปียกในมันสำปะหลัง]]  
 
เชื้อสาเหตุเกิดจาก เชื้อรา ''Choanephora'' sp.  
เชื้อสาเหตุเกิดจาก เชื้อรา ''Choanephora'' sp.  


บรรทัดที่ 155: บรรทัดที่ 156:
ฉีดพ่นสารป้องกันกำจัดเชื้อราในกลุ่ม Zygomycota หรือในกลุ่มราชั้นต่ำ เช่น ไทอะเบนดาโซล (thiabendazole) แมนโคแซบ (mancozeb) (อุดมศักดิ์, 2555)<ref>อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>
ฉีดพ่นสารป้องกันกำจัดเชื้อราในกลุ่ม Zygomycota หรือในกลุ่มราชั้นต่ำ เช่น ไทอะเบนดาโซล (thiabendazole) แมนโคแซบ (mancozeb) (อุดมศักดิ์, 2555)<ref>อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>
[[หมวดหมู่:โรค]]
[[หมวดหมู่:โรค]]




134

การแก้ไข