ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดิน"

 
บรรทัดที่ 56: บรรทัดที่ 56:


=== วิธีการใส่ปุ๋ย ===
=== วิธีการใส่ปุ๋ย ===
วิธีการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม ควรใส่ปุ๋ยตรงสันร่อง 2 ข้างลำต้นบริเวณขอบทรงพุ่ม (ขึ้นอยู่กับอายุพืชและขนาดของทรงพุ่ม) โดยการใช้จอบขุดเป็นหลุมขนาดเล็กลึกประมาณ 5-10 เซนติเมตร แล้วใช้ดินกลบ หากไม่กลบอาจทำให้เกิดการสูญเสียปุ๋ยมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์การใส่ปุ๋ยเคมีต้องดำเนินการในขณะที่ดินมีความชื้น และต้องกลบปุ๋ยด้วย การใส่ปุ๋ยรองพื้นมันสำปะหลังไม่ควรทำเพราะรากมันสำปะหลังยังมีปริมาณไม่มากพอที่จะดูดใช้ได้ทัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากมีฝนตกค่อนข้างมากหลังจากการเสียบท่อนพันธุ์ ส่วนการใส่ปุ๋ยด้านข้างร่องอาจจะเป็นการลดค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน โดยการโรยและไถกลบ แต่ไม่เหมาะสมกับมันสำปะหลังพันธุ์แนะนำที่มีระยะปลูกระหว่างต้นประมาณ 80-100 เซนติเมตร เพราะปลายรากพืชไม่สามารถดูดใช้ปุ๋ยได้ทั่วถึง และหากฝนตกแล้วมีการไหลของน้ำในร่องมันสำปะหลังก็จะทำให้เกิดการสูญเสีย สำหรับการหว่านปุ๋ยไม่แนะนำโดยสิ้นเชิงสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
วิธีการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม ควรใส่ปุ๋ยตรงสันร่อง 2 ข้างลำต้นบริเวณขอบทรงพุ่ม (ขึ้นอยู่กับอายุพืชและขนาดของทรงพุ่ม) โดยการใช้จอบขุดเป็นหลุมขนาดเล็กลึกประมาณ 5-10 เซนติเมตร แล้วใช้ดินกลบ หากไม่กลบอาจทำให้เกิดการสูญเสียปุ๋ยมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์การใส่ปุ๋ยเคมีต้องดำเนินการในขณะที่ดินมีความชื้น และต้องกลบปุ๋ยด้วย การใส่ปุ๋ยรองพื้นมันสำปะหลังไม่ควรทำเพราะรากมันสำปะหลังยังมีปริมาณไม่มากพอที่จะดูดใช้ได้ทัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากมีฝนตกค่อนข้างมากหลังจากการเสียบท่อนพันธุ์ ส่วนการใส่ปุ๋ยด้านข้างร่องอาจจะเป็นการลดค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน โดยการโรยและไถกลบ แต่ไม่เหมาะสมกับมันสำปะหลังพันธุ์แนะนำที่มีระยะปลูกระหว่างต้นประมาณ 80-100 เซนติเมตร เพราะปลายรากพืชไม่สามารถดูดใช้ปุ๋ยได้ทั่วถึง และหากฝนตกแล้วมีการไหลของน้ำในร่องมันสำปะหลังก็จะทำให้เกิดการสูญเสีย สำหรับการหว่านปุ๋ยไม่แนะนำโดยสิ้นเชิงสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" />


==== วิธีการใช้ปุ๋ยแต่ละชนิดให้กับพืช ====
==== วิธีการใช้ปุ๋ยแต่ละชนิดให้กับพืช ====
บรรทัดที่ 68: บรรทัดที่ 68:
* ถังหยอดปุ๋ยชนิดมอเตอร์ไฟฟ้า ใช้พ่วงกับแบตเตอรี่รถไถ มีสวิทปิดเปิด ใช้วางบนหางไถ มีเกลียวหมุน หยอดปุ๋ยลงร่องที่ปลูกมันสำปะหลังจากนั้นใบไถจะตามกลบปุ๋ย ทำให้ปุ๋ยอยู่ในร่องที่เป๋นแนวปลูกและอยู่ใต้ผิวดิน เป็นการประหยัดปุ๋ย และทำให้ปุ๋ยไม่ระเหิดจากการโดนแดดเผาจึงทำให้มันสำปะหลังได้รับปุ๋ยมากยิ่งขึ้น เกิดการสูญเสียน้อย เพราะปุ๋ยอยู่ใต้ผิวดิน[[ไฟล์:Image53.png|thumb|ถังหยอดปุ๋ยชนิดมอเตอร์ไฟฟ้า ภาพจากไร่ปรินซ์โตน ของคุณสุรพันธุ์ (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2564)]]
* ถังหยอดปุ๋ยชนิดมอเตอร์ไฟฟ้า ใช้พ่วงกับแบตเตอรี่รถไถ มีสวิทปิดเปิด ใช้วางบนหางไถ มีเกลียวหมุน หยอดปุ๋ยลงร่องที่ปลูกมันสำปะหลังจากนั้นใบไถจะตามกลบปุ๋ย ทำให้ปุ๋ยอยู่ในร่องที่เป๋นแนวปลูกและอยู่ใต้ผิวดิน เป็นการประหยัดปุ๋ย และทำให้ปุ๋ยไม่ระเหิดจากการโดนแดดเผาจึงทำให้มันสำปะหลังได้รับปุ๋ยมากยิ่งขึ้น เกิดการสูญเสียน้อย เพราะปุ๋ยอยู่ใต้ผิวดิน[[ไฟล์:Image53.png|thumb|ถังหยอดปุ๋ยชนิดมอเตอร์ไฟฟ้า ภาพจากไร่ปรินซ์โตน ของคุณสุรพันธุ์ (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2564)]]
* ถังหยอดปุ๋ยแบบอนาล็อค คือไม่ใช้ไฟฟ้า จะมีโซ่โยงมถึงลูกกลิ้งเวลารถไถวิ่งลูกกลิ้งจะหมุนลากโซ่ ส่งกำลังไปหมุนเกลียวเฟืองที่อยู่ใต้ถังปุ๋ย ปุ๋ยเม็ดจะหยอดลงมาตามร่องที่รถไถวิ่ง สามารถปรับปริมาณได้มากน้อย ที่ตัวปรับใต้ถัง หลังจากปุ๋ยลงดินจะโดนใบไถกลบปุ๋ยตามหลังเหมือนกัน ทำให้ปุ๋ยอยู่ใต้ดิน[[ไฟล์:Image69.png|thumb|ถังหยอดปุ๋ยแบบอนาล็อค (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2554)]]
* ถังหยอดปุ๋ยแบบอนาล็อค คือไม่ใช้ไฟฟ้า จะมีโซ่โยงมถึงลูกกลิ้งเวลารถไถวิ่งลูกกลิ้งจะหมุนลากโซ่ ส่งกำลังไปหมุนเกลียวเฟืองที่อยู่ใต้ถังปุ๋ย ปุ๋ยเม็ดจะหยอดลงมาตามร่องที่รถไถวิ่ง สามารถปรับปริมาณได้มากน้อย ที่ตัวปรับใต้ถัง หลังจากปุ๋ยลงดินจะโดนใบไถกลบปุ๋ยตามหลังเหมือนกัน ทำให้ปุ๋ยอยู่ใต้ดิน[[ไฟล์:Image69.png|thumb|ถังหยอดปุ๋ยแบบอนาล็อค (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2554)]]
* ฉีดพ่นปุ๋ยน้ำทางใบโดยใช้แรงงานคนเดินพ่นตามร่องมันสำปะหลังและโดยใช้โดรน ช่วยให้มันสำปะหลังเจริญเติบโตได้เร็วคลุมหญ้าได้ไว มีใบกว้างสามารถสังเคราะห์แสงได้ดีขึ้น และวิธีการพ่นปุ๋ยโดยใช้โดรนฉีดพ่นตามพื้นที่ต่างๆในแปลงมันสำปะหลัง (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2554)[[ไฟล์:Image66.png|thumb|อุปกรณ์และวิธีการฉีดพ่นปุ๋ยทางใบโดยใช้แรงงานคน (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2554)]][[ไฟล์:Image33.png|thumb|ภาพการฉีดพ่นปุ๋ยทางใบโดยใช้โดรนฉีดพ่น ]]
* ฉีดพ่นปุ๋ยน้ำทางใบโดยใช้แรงงานคนเดินพ่นตามร่องมันสำปะหลังและโดยใช้โดรน ช่วยให้มันสำปะหลังเจริญเติบโตได้เร็วคลุมหญ้าได้ไว มีใบกว้างสามารถสังเคราะห์แสงได้ดีขึ้น และวิธีการพ่นปุ๋ยโดยใช้โดรนฉีดพ่นตามพื้นที่ต่างๆในแปลงมันสำปะหลัง (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2554)<ref>ฟาร์ฒเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร.  2554.  มันสำปะหลังและการปลูกมันสำปะหลัง. ที่มา: <nowiki>https://www.farmkaset.org/html5/contents.aspx?con_id=00434</nowiki>. วันที่สืบค้น 16 กรกฎาคม 2564.</ref>[[ไฟล์:Image66.png|thumb|อุปกรณ์และวิธีการฉีดพ่นปุ๋ยทางใบโดยใช้แรงงานคน (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2554)]][[ไฟล์:Image33.png|thumb|ภาพการฉีดพ่นปุ๋ยทางใบโดยใช้โดรนฉีดพ่น ]]


=== วิธีการเลือกซื้อปุ๋ย ===
=== วิธีการเลือกซื้อปุ๋ย ===
บรรทัดที่ 79: บรรทัดที่ 79:
# น้ำหนักสุทธิหรือขนาดบรรจุของปุ๋ยเคมีตามระบบเมตริก
# น้ำหนักสุทธิหรือขนาดบรรจุของปุ๋ยเคมีตามระบบเมตริก
# ชื่อผู้ผลิต และที่ตั้งสำนักงานและสถานที่ผลิตปุ๋ยเคมีเพื่อการค้า
# ชื่อผู้ผลิต และที่ตั้งสำนักงานและสถานที่ผลิตปุ๋ยเคมีเพื่อการค้า
# ชื่อทางเคมีและปริมาณของสารเป็นพิษที่อยู่ในปุ๋ยเคมี (ทัศนีย์ และ ประทีป. 2552)
# ชื่อทางเคมีและปริมาณของสารเป็นพิษที่อยู่ในปุ๋ยเคมี (ทัศนีย์ และ ประทีป. 2552)<ref name=":1">ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ และ ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์. 2552.  ธรรมชาติของดินและปุ๋ย. ครั้งที่ 7 หจก. กรครีเอชั่น. กรุงเทพฯ.</ref>


* ตรวจสอบเลขทะเบียนของปุ๋ยที่ขึ้นกับกรมวิชาการเกษตรด้วยแอพพลิเคชั่นของกรมวิชาการเกษตร บนช่องทางเครื่องมือสื่อสาร
* ตรวจสอบเลขทะเบียนของปุ๋ยที่ขึ้นกับกรมวิชาการเกษตรด้วยแอพพลิเคชั่นของกรมวิชาการเกษตร บนช่องทางเครื่องมือสื่อสาร
บรรทัดที่ 161: บรรทัดที่ 161:
<nowiki>*</nowiki> ถ้า“ฝ้าขาว” อ่านค่าได้ว่ามีปริมาณ โพแทสเซี่ยมปานกลาง
<nowiki>*</nowiki> ถ้า“ฝ้าขาว” อ่านค่าได้ว่ามีปริมาณ โพแทสเซี่ยมปานกลาง


<nowiki>*</nowiki> ถ้าไม่มีทั้ง“ตะกอน” และ “ฝ้าขาว” อ่านค่าได้ว่ามีปริมาณ โพแทสเซียมต่ำ (ทัศนีย์ และ ประทีป. 2558)
<nowiki>*</nowiki> ถ้าไม่มีทั้ง“ตะกอน” และ “ฝ้าขาว” อ่านค่าได้ว่ามีปริมาณ โพแทสเซียมต่ำ (ทัศนีย์ และ ประทีป. 2558)<ref name=":1" />


== '''การใส่ปุ๋ยตามเนื้อดินจากการประเมินอย่างง่าย''' ==
== '''การใส่ปุ๋ยตามเนื้อดินจากการประเมินอย่างง่าย''' ==
บรรทัดที่ 214: บรรทัดที่ 214:
หมายเหตุ สูตรและอัตราการใส่ปุ๋ยเคมี/อินทรีย์ควรใส่ตามค่าวิเคราะห์ดิน
หมายเหตุ สูตรและอัตราการใส่ปุ๋ยเคมี/อินทรีย์ควรใส่ตามค่าวิเคราะห์ดิน


ที่มา: ดัดแปลงจากคำแนะนำการใช้ปุ๋ยกับพืชเศรษฐกิจ (กรมวิชาการเกษตร, 2553)
ที่มา: ดัดแปลงจากคำแนะนำการใช้ปุ๋ยกับพืชเศรษฐกิจ (กรมวิชาการเกษตร, 2553)<ref>กรมวิชาการเกษตร. 2553. คำแนะนำการใช้ปุ๋ยกับพืชเศรษฐกิจ. กรมวิชาการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 122 หน้า.</ref>


== '''การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดินตามค่าวิเคราะห์ดิน''' ==
== '''การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดินตามค่าวิเคราะห์ดิน''' ==
บรรทัดที่ 230: บรรทัดที่ 230:
=== ปริมาณอินทรียวัตถุ ===
=== ปริมาณอินทรียวัตถุ ===


* '''ระดับต่ำมาก (<1.0%)''' ควรมีการจัดการเพิ่มเติมอินทรียวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกโดยเฉพาะมูลไก่แกลบในอัตรา 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งนี้ควรพิจารณาเรื่องการปรับลดปุ๋ยไนโตรเจนลงบ้างเพื่อลดอาการเฝือใบ การใส่กากแป้งจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังในระยะยาวอาจส่งผลต่อการลดลงของค่าพีเอชดิน ซึ่งต้องมีการทดลองว่ามีผลต่อมันสำปะหลังอย่างไร การใช้กากแป้งที่มี C:N Ratio กว้างในปริมาณมาก ต้องระวังการเกิด N-immobilization และอาจทำให้พืชขาด N ได้ โดยเฉพาะในระยะแรก ๆ ของการเติบโตของมันสำปะหลัง ซึ่งเป็นช่วงที่จะมีผลต่อการให้ผลผลิตที่สำคัญมาก และการไถกลบเศษเหลือของพืชลงไปในดินอย่างสม่ำเสมอ หรือการไถกลบพืชปุ๋ยสดจะช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* '''ระดับต่ำมาก (<1.0%)''' ควรมีการจัดการเพิ่มเติมอินทรียวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกโดยเฉพาะมูลไก่แกลบในอัตรา 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งนี้ควรพิจารณาเรื่องการปรับลดปุ๋ยไนโตรเจนลงบ้างเพื่อลดอาการเฝือใบ การใส่กากแป้งจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังในระยะยาวอาจส่งผลต่อการลดลงของค่าพีเอชดิน ซึ่งต้องมีการทดลองว่ามีผลต่อมันสำปะหลังอย่างไร การใช้กากแป้งที่มี C:N Ratio กว้างในปริมาณมาก ต้องระวังการเกิด N-immobilization และอาจทำให้พืชขาด N ได้ โดยเฉพาะในระยะแรก ๆ ของการเติบโตของมันสำปะหลัง ซึ่งเป็นช่วงที่จะมีผลต่อการให้ผลผลิตที่สำคัญมาก และการไถกลบเศษเหลือของพืชลงไปในดินอย่างสม่ำเสมอ หรือการไถกลบพืชปุ๋ยสดจะช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" />
[[ไฟล์:ปุ๋ยพืชสด.png|thumb|การปลูกถั่วพร้าเป็นพืชปุ๋ยสดเพื่อเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุ]]
[[ไฟล์:ปุ๋ยพืชสด.png|thumb|การปลูกถั่วพร้าเป็นพืชปุ๋ยสดเพื่อเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุ]]


=== ค่าความเค็ม ===
=== ค่าความเค็ม ===
มันสำปะหลังส่วนใหญ่จะปลูกในที่ดอน ดังนั้น จึงไม่ค่อยพบปัญหา ยกเว้นในบางบริเวณที่ปลูกอยู่ระหว่างรอยต่อของที่นาที่เป็นดินเค็มกับที่ดอน ซึ่งแก้ไขได้โดยการเพิ่มเติมวัสดุอินทรีย์ เช่น แกลบสด หรือเศษเหลือของพืชแล้วไถกลบ ควรหลีกเลี่ยงการใช้มูลไก่สด หรือมูลไก่แกลบ เนื่องจากเป็นวัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ที่มีค่าความเค็มค่อนข้างสูง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
มันสำปะหลังส่วนใหญ่จะปลูกในที่ดอน ดังนั้น จึงไม่ค่อยพบปัญหา ยกเว้นในบางบริเวณที่ปลูกอยู่ระหว่างรอยต่อของที่นาที่เป็นดินเค็มกับที่ดอน ซึ่งแก้ไขได้โดยการเพิ่มเติมวัสดุอินทรีย์ เช่น แกลบสด หรือเศษเหลือของพืชแล้วไถกลบ ควรหลีกเลี่ยงการใช้มูลไก่สด หรือมูลไก่แกลบ เนื่องจากเป็นวัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ที่มีค่าความเค็มค่อนข้างสูง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" />


=== ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ===
=== ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ===
บรรทัดที่ 240: บรรทัดที่ 240:
* '''ระดับต่ำมากถึงค่อนข้างต่ำ (<10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ควรใช้ปุ๋ยหลักที่เป็นสูตรเสมอ เช่น ปุ๋ย 15-15-15 หรือ 16-16-16 หรือในเรโช 1:1:1 ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่
* '''ระดับต่ำมากถึงค่อนข้างต่ำ (<10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ควรใช้ปุ๋ยหลักที่เป็นสูตรเสมอ เช่น ปุ๋ย 15-15-15 หรือ 16-16-16 หรือในเรโช 1:1:1 ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่
* '''ระดับปานกลางถึงระดับค่อนข้างสูง (10-25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ควรใช้ปุ๋ยหลักที่มีเรโชปุ๋ยประมาณ 2:1:2 หรือ 2:1:3 เช่นปุ๋ยสูตร 15-7-18 ฯลฯ
* '''ระดับปานกลางถึงระดับค่อนข้างสูง (10-25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ควรใช้ปุ๋ยหลักที่มีเรโชปุ๋ยประมาณ 2:1:2 หรือ 2:1:3 เช่นปุ๋ยสูตร 15-7-18 ฯลฯ
* '''ระดับสูงถึงสูงมาก (>25''' '''มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ใช้ปุ๋ยเคมีที่ไม่มีฟอสฟอรัสในรูปปุ๋ยเดี่ยวไนโตรเจน โพแทสเซียม หรือปุ๋ยผสม (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* '''ระดับสูงถึงสูงมาก (>25''' '''มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ใช้ปุ๋ยเคมีที่ไม่มีฟอสฟอรัสในรูปปุ๋ยเดี่ยวไนโตรเจน โพแทสเซียม หรือปุ๋ยผสม (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" />


=== โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ ===
=== โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ ===
บรรทัดที่ 248: บรรทัดที่ 248:
* '''ระดับปานกลาง (60-90 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ควรใส่ปุ๋ยที่มีเรโชปุ๋ย ประมาณ 2:1:2 หรือ 2:1:3 เช่น ปุ๋ยสูตร 15-7-18 ฯลฯ  
* '''ระดับปานกลาง (60-90 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ควรใส่ปุ๋ยที่มีเรโชปุ๋ย ประมาณ 2:1:2 หรือ 2:1:3 เช่น ปุ๋ยสูตร 15-7-18 ฯลฯ  


* '''ระดับสูง (>90 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' เนื่องจากมีโพแทสเซียมสูงอยู่แล้ว แนะนำให้ใส่ปุ๋ยสูตรที่มีเรโช ประมาณ 1:1:0 เช่นสูตร 16-20-0 หรือปุ๋ยที่มีเรโช 2:2:1 เช่นปุ๋ยสูตร 16-16-8 ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* '''ระดับสูง (>90 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' เนื่องจากมีโพแทสเซียมสูงอยู่แล้ว แนะนำให้ใส่ปุ๋ยสูตรที่มีเรโช ประมาณ 1:1:0 เช่นสูตร 16-20-0 หรือปุ๋ยที่มีเรโช 2:2:1 เช่นปุ๋ยสูตร 16-16-8 ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" />


=== ธาตุอาหารรอง ===
=== ธาตุอาหารรอง ===
บรรทัดที่ 255: บรรทัดที่ 255:
   ทั้ง 3 ธาตุจะส่งผลต่อผลผลิตมันสำปะหลังเมื่อพบในดินที่ระดับต่ำถึงต่ำมาก อย่างไรตาม หากมีการปรับปรุงดินโดยใช้หินปูนบด หรือสารปูนไลม์อื่น ๆ ก็จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องการขาดแคลเซียม ยิปซัมแก้ปัญหาการขาดแคลเซียม และกำมะถัน โดโลไมต์แก้ปัญหาการขาดแคลเซียม และแมกนีเซียม ปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอกหลาย ๆ ชนิด แก้ปัญหาการขาดแมกนีเซียม และกำมะถัน ทั้งนี้ไม่มีความจำเป็นต้องใส่ธาตุทั้ง 3 เพิ่มเติม โอกาสที่พืชจะขาดแคลเซียมและแมกนีเซียมได้จะเป็นกรณีของดินกรดจัด และดินทราย  
   ทั้ง 3 ธาตุจะส่งผลต่อผลผลิตมันสำปะหลังเมื่อพบในดินที่ระดับต่ำถึงต่ำมาก อย่างไรตาม หากมีการปรับปรุงดินโดยใช้หินปูนบด หรือสารปูนไลม์อื่น ๆ ก็จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องการขาดแคลเซียม ยิปซัมแก้ปัญหาการขาดแคลเซียม และกำมะถัน โดโลไมต์แก้ปัญหาการขาดแคลเซียม และแมกนีเซียม ปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอกหลาย ๆ ชนิด แก้ปัญหาการขาดแมกนีเซียม และกำมะถัน ทั้งนี้ไม่มีความจำเป็นต้องใส่ธาตุทั้ง 3 เพิ่มเติม โอกาสที่พืชจะขาดแคลเซียมและแมกนีเซียมได้จะเป็นกรณีของดินกรดจัด และดินทราย  


ในกรณีที่ดินขาดธาตุอาหารรอง (Ca, Mg และ S) แนะนำให้ใช้ปุ๋ยธาตุอาหารรอง (Ca, Mg, S) เช่น ฟอสโฟยิปซัม (CaSO<sub>4</sub>.2H<sub>2</sub>O+P) ยิปซัม (CaSO<sub>4</sub>.2H<sub>2</sub>O) โดโลไมต์(CaCO<sub>3</sub>.MgCO<sub>3</sub>) ซัล-โป-แม๊กซ์ (MgSO<sub>4</sub>.K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>) โดยการใช้ฟอสโฟยิปซัม ยิปซัม และ โดโลไมต์ จะช่วยปรับปรุงสมบัติของดินที่มีปัญหาทางฟิสิกส์ไปด้วย เช่น ดินที่มีอัตราการแทรกซึมน้ำต่ำ ดินที่เกิดแผ่นแข็งปิดผิว กล่าวคือ มีคุณสมบัติเป็นทั้งปุ๋ยธาตุอาหารรอง และสารปรับปรุงดินไปพร้อม ๆ กัน ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
ในกรณีที่ดินขาดธาตุอาหารรอง (Ca, Mg และ S) แนะนำให้ใช้ปุ๋ยธาตุอาหารรอง (Ca, Mg, S) เช่น ฟอสโฟยิปซัม (CaSO<sub>4</sub>.2H<sub>2</sub>O+P) ยิปซัม (CaSO<sub>4</sub>.2H<sub>2</sub>O) โดโลไมต์(CaCO<sub>3</sub>.MgCO<sub>3</sub>) ซัล-โป-แม๊กซ์ (MgSO<sub>4</sub>.K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>) โดยการใช้ฟอสโฟยิปซัม ยิปซัม และ โดโลไมต์ จะช่วยปรับปรุงสมบัติของดินที่มีปัญหาทางฟิสิกส์ไปด้วย เช่น ดินที่มีอัตราการแทรกซึมน้ำต่ำ ดินที่เกิดแผ่นแข็งปิดผิว กล่าวคือ มีคุณสมบัติเป็นทั้งปุ๋ยธาตุอาหารรอง และสารปรับปรุงดินไปพร้อม ๆ กัน ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" />


=== ธาตุอาหารเสริม ===
=== ธาตุอาหารเสริม ===
โบรอนเป็นธาตุอาหารเสริมที่มันสำปะหลังต้องการในปริมาณน้อยมาก และไม่ค่อยพบรายงานว่ามีอาการขาดเกิดขึ้นในแปลงปลูกมันสำปะหลัง สำหรับธาตุทองแดง แมงกานีส และเหล็ก โดยทั่วไปไม่ค่อยพบอาการขาดในประเทศไทยโดยเฉพาะในดินที่มีพีเอชเป็นกรด ปัญหาที่พบมากที่สุดสำหรับมันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศไทยก็คือ การขาดธาตุสังกะสีโดยเฉพาะเมื่อปลูกในดินทรายจัด ดินด่าง หรือพื้นที่ดินที่ปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน หรือมีการใช้ปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัสในอัตราสูงอย่างต่อเนื่อง การขาดสังกะสีมีผลทำให้มันสำปะหลังยืดต้นช้า พบแถบสีขาว หรือเหลืองบนใบอ่อน ใบอาจย่นหรือเปลี่ยนรูปร่าง อาจพบจุดแผลเซลล์ตายในใบล่าง และอาจรุนแรงทำให้ต้นตาย ส่งผลถึงความอยู่รอดและผลผลิตมันสำปะหลัง แก้ไขโดยการฉีดพ่นปุ๋ยซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรตทางใบที่อัตรา 0.8 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบเมื่อมันสำปะหลังอายุ 1, 2 และ 3 เดือนหลังปลูก หรือชุบท่อนพันธุ์ก่อนปลูกด้วยธาตุสังกะสี (ซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรต) ที่ละลายน้ำในอัตรา 0.4 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เป็นเวลา 15 นาที (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
โบรอนเป็นธาตุอาหารเสริมที่มันสำปะหลังต้องการในปริมาณน้อยมาก และไม่ค่อยพบรายงานว่ามีอาการขาดเกิดขึ้นในแปลงปลูกมันสำปะหลัง สำหรับธาตุทองแดง แมงกานีส และเหล็ก โดยทั่วไปไม่ค่อยพบอาการขาดในประเทศไทยโดยเฉพาะในดินที่มีพีเอชเป็นกรด ปัญหาที่พบมากที่สุดสำหรับมันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศไทยก็คือ การขาดธาตุสังกะสีโดยเฉพาะเมื่อปลูกในดินทรายจัด ดินด่าง หรือพื้นที่ดินที่ปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน หรือมีการใช้ปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัสในอัตราสูงอย่างต่อเนื่อง การขาดสังกะสีมีผลทำให้มันสำปะหลังยืดต้นช้า พบแถบสีขาว หรือเหลืองบนใบอ่อน ใบอาจย่นหรือเปลี่ยนรูปร่าง อาจพบจุดแผลเซลล์ตายในใบล่าง และอาจรุนแรงทำให้ต้นตาย ส่งผลถึงความอยู่รอดและผลผลิตมันสำปะหลัง แก้ไขโดยการฉีดพ่นปุ๋ยซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรตทางใบที่อัตรา 0.8 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบเมื่อมันสำปะหลังอายุ 1, 2 และ 3 เดือนหลังปลูก หรือชุบท่อนพันธุ์ก่อนปลูกด้วยธาตุสังกะสี (ซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรต) ที่ละลายน้ำในอัตรา 0.4 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เป็นเวลา 15 นาที (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" />
[[ไฟล์:ขาดธาตุ.png|thumb|สภาพของต้นมันสำปะหลังที่ขาดธาตุสังกะสี]]
[[ไฟล์:ขาดธาตุ.png|thumb|สภาพของต้นมันสำปะหลังที่ขาดธาตุสังกะสี]]
[[ไฟล์:สภาพแปลงมัน.png|thumb|สภาพแปลงมันสำปะหลังที่ขาดธาตุสังกะสี]]
[[ไฟล์:สภาพแปลงมัน.png|thumb|สภาพแปลงมันสำปะหลังที่ขาดธาตุสังกะสี]]
134

การแก้ไข