ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อาการขาดธาตุอาหาร"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
บรรทัดที่ 57: บรรทัดที่ 57:
ธาตุสังกะสีเป็นธาตุที่เป็นองค์ประกอบของเอนไซม์หลายชนิดในพืชช่วยสังเคราะห์ฮอร์โมนออกซิน (Auxins) เพื่อการเจริญเติบโตของพืชช่วยสร้างโปรตีนและคลอโรฟิลในพืช กระตุ้นให้มีการสร้างแป้งและน้ำตาลช่วยในการยืดตัวของเซลล์พืช (วัลลีย์, 2551)<ref name=":1" /> อาการขาดธาตุมันสำปะหลังเป็นพืชที่ไวต่อการขาดสังกะสีโดยเฉพาะในช่วงแรกของการเจริญเติบโต อาการขาดสังกะสีจะปรากฏเป็นจุดขาวหรือเส้นขาวบนใบอ่อนเมื่ออาการรุนแรงใบทั้งหมดจะเป็นสีซีดขาว ความหยักของใบจะเล็กและ       แคบกว่า และใบจะชี้ออกไปจากลำต้น ใบล่างจะเป็นแผลจุดสีขาวหรือ      น้ำตาล ต้นจะไม่โตและอ่อนแอ ต้นที่แสดงอาการเริ่มขาดสังกะสีอาจจะกลับมาตั้งตัวได้หลังจากที่ระบบรากเจริญเติบโตดีแล้วและรากได้รับเชื้อราไมโคไรซ่าในดินแล้วถ้าขาดรุนแรงมันสำปะหลังอาจตายหรือให้ผลผลิตต่ำมากๆ (มาลินี และ วิลาวัลย์, 2558<ref name=":2" />)
ธาตุสังกะสีเป็นธาตุที่เป็นองค์ประกอบของเอนไซม์หลายชนิดในพืชช่วยสังเคราะห์ฮอร์โมนออกซิน (Auxins) เพื่อการเจริญเติบโตของพืชช่วยสร้างโปรตีนและคลอโรฟิลในพืช กระตุ้นให้มีการสร้างแป้งและน้ำตาลช่วยในการยืดตัวของเซลล์พืช (วัลลีย์, 2551)<ref name=":1" /> อาการขาดธาตุมันสำปะหลังเป็นพืชที่ไวต่อการขาดสังกะสีโดยเฉพาะในช่วงแรกของการเจริญเติบโต อาการขาดสังกะสีจะปรากฏเป็นจุดขาวหรือเส้นขาวบนใบอ่อนเมื่ออาการรุนแรงใบทั้งหมดจะเป็นสีซีดขาว ความหยักของใบจะเล็กและ       แคบกว่า และใบจะชี้ออกไปจากลำต้น ใบล่างจะเป็นแผลจุดสีขาวหรือ      น้ำตาล ต้นจะไม่โตและอ่อนแอ ต้นที่แสดงอาการเริ่มขาดสังกะสีอาจจะกลับมาตั้งตัวได้หลังจากที่ระบบรากเจริญเติบโตดีแล้วและรากได้รับเชื้อราไมโคไรซ่าในดินแล้วถ้าขาดรุนแรงมันสำปะหลังอาจตายหรือให้ผลผลิตต่ำมากๆ (มาลินี และ วิลาวัลย์, 2558<ref name=":2" />)


# ถ้าพืชขาดธาตุอาหารหลักพวก ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซียม นิยมใส่ปุ๋ยให้ทางดิน เพราะพืชต้องการมาก การให้ปุ๋ยทางใบโดยปกติจะช่วยเสริมให้สามารถแก้ไขได้ทันท่วงทีในช่วงแรกๆ ปุ๋ยที่ใช้ควรเลือกสูตรให้เหมาะสมตามลักษณะที่พืชขาด ตัวเลขสูตรปุ๋ย เช่น 30-20-10 หมายถึงปริมาณของ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซียม ในปุ๋ยนั้นตามลำดับ
# ถ้าพืชแสดงอาการขาด แคลเซียม หรือ แมกนีเซียม ซึ่งโดยปกติจะพบในดินที่เป็นกรด แก้ไขได้โดยการใส่ปูน ถ้าขาดแคลเซียมอาจใช้ปูนมาร์ล ปูนขาวหรือหินปูนบด แต่ถ้าขาด แมกนีเซียม ด้วยควรใช้ปูนโดโลไมต์ เพราะมีทั้ง แคลเซียม และ แมกนีเซียม
# ถ้าพืชขาดจุลธาตุ ควรปรับสภาพความเป็นกรด-ด่างของดิน pH ให้มีค่าประมาณ 5.5-7 เพราะดินในสภาพนี้จุลธาตุจะละลายออกมาให้พืชใช้ได้พอเหมาะไม่มากหรือน้อยเกินไป แต่ถ้าดินมีธาตุเหล่านี้น้อยนิยมเพิ่มในรูปของปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก เพราะปุ๋ยพวกนี้มีธาตุเหล่านี้อยู่ด้วย อย่างไรก็ตามการใส่ปุ๋ยให้ทางดินอาจจะช้าแก้ไขได้ไม่ทันการ ดังนั้นอาจมีการฉีดพ่นให้ทางใบด้วย ในปัจจุบันมีปุ๋ยที่มีพวกจุลธาตุผสมอยู่มาก เช่น ปุ๋ยน้ำหรือปุ๋ยเกร็ดละลายน้ำ แต่ถ้าทราบว่าขาดจุลธาตุเพียง 1 หรือ 2 ตัว ก็อาจหาซื้อปุ๋ยที่มีเฉพาะธาตุนั้นๆ มาฉีดให้ทางใบก็ได้ เช่น เหล็กคีเลทให้ธาตุเหล็ก แมงกานีสซัลเฟตให้ แมงกานีสและกำมะถัน ซิงซัลเฟตให้สังกะสีและกำมะถัน คอปเปอร์ซัลเฟตให้ทองแดงและกำมะถัน โบแร็กซ์ให้โบรอน แอมโมเนียมโมลิบเดทให้โมลิบดินัมและไนโตรเจน และอื่นๆ อีกมาก (108 พรรณไม้, 2021<ref>108 พรรณไม้. 2021. พืชจะแสดงอาการอย่างไรเมื่อขาดธาตุ. ที่มา: <nowiki>https://www.panmai.com/Tip/Tip02/Tip02.shtml</nowiki>. วันที่ 20 พฤษภาคม 2564</ref> )
== อ้างอิง ==
*




134

การแก้ไข