ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจัดการโรค"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
มันสำปะหลังจัดเป็นพืชที่ปลูกได้ง่าย และมีการดูแลรักษาไม่ยุ่งยากเหมือนพืชชนิดอื่น นอกจากนี้ยังสามารถปลูกได้ดีในสภาพอากาศของประเทศไทย สามารถเก็บเกี่ยวได้ในช่วง 8 - 12 เดือนหลังปลูก แต่พอว่าการศึกษาเกี่ยวกับโรคของมันสำปะหลังที่ผ่านมายังไม่ค่อยได้รับความสนใจมากนัก อาจเนื่องมาจากยังไม่มีการระบาดที่ทำความเสียหายได้อย่างชัดเจน เหมือนกับการทำลายของแมลง ประกอบกับการเข้าใจผิดที่ว่ามันสำปะหลังไม่มีโรครบกวน แต่ที่จริงแล้วมีโรคไม่น้อยที่เกิดขึ้นในมันสำปะหลัง (Hillocks ''et. al''., 2002)<ref>Hillocks, R.J., M.J. Thresh and C.A. Bellotti. 2002.  Cassava: Biology, Production and Utilization. CABI Publishing. London, UK.</ref> โดยมีสาเหตุมาจากสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด ได้แก่ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคใบจุดสีน้ำตาล โรครากเน่าและหัวเน่า โรคเน่าเปียก โรครากปม (กลุ่มวิจัยโรคพืช, 2559<ref>กลุ่มวิจัยโรคพืช.  2559. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.</ref>; อุดมศักดิ์, 2555<ref>อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>; ศานิต, 2557)<ref>ศานิต สวัสดิกาญจน์.  2557.  พืชอุตสาหกรรม(Industrial Field crops).  โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. กรุงเทพมหานคร.</ref> และอาการขาดธาตุในมันสำปะหลัง ในปัจจุบันพบว่าโรคใบด่างมันสำปะหลังเกิดจากเชื้อไวรัส Cassava Mosaic Virus หากมีการระบาดรุนแรงสามารถส่งผลกระทบต่อผลผลิตมันสำปะหลังได้มากถึงร้อยละ 80 – 100 (ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ, 2563)<ref>ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ.  2563. วิเคราะห์สถานการณ์โรคใบด่างมันสำปะหลัง. สำนักงานเศรษฐกิจเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. ที่มา: <nowiki>https://www.nabc.go.th/disaster/baidang</nowiki>. 8 กุมภาพันธ์ 2564.</ref>
มันสำปะหลังจัดเป็นพืชที่ปลูกได้ง่าย และมีการดูแลรักษาไม่ยุ่งยากเหมือนพืชชนิดอื่น นอกจากนี้ยังสามารถปลูกได้ดีในสภาพอากาศของประเทศไทย สามารถเก็บเกี่ยวได้ในช่วง 8 - 12 เดือนหลังปลูก แต่พอว่าการศึกษาเกี่ยวกับโรคของมันสำปะหลังที่ผ่านมายังไม่ค่อยได้รับความสนใจมากนัก อาจเนื่องมาจากยังไม่มีการระบาดที่ทำความเสียหายได้อย่างชัดเจน เหมือนกับการทำลายของแมลง ประกอบกับการเข้าใจผิดที่ว่ามันสำปะหลังไม่มีโรครบกวน แต่ที่จริงแล้วมีโรคไม่น้อยที่เกิดขึ้นในมันสำปะหลัง (Hillocks ''et. al''., 2002)<ref>Hillocks, R.J., M.J. Thresh and C.A. Bellotti. 2002.  Cassava: Biology, Production and Utilization. CABI Publishing. London, UK.</ref> โดยมีสาเหตุมาจากสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด ได้แก่ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคใบจุดสีน้ำตาล โรครากเน่าและหัวเน่า โรคเน่าเปียก โรครากปม (กลุ่มวิจัยโรคพืช, 2559<ref>กลุ่มวิจัยโรคพืช.  2559. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.</ref>; อุดมศักดิ์, 2555<ref>อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>; ศานิต, 2557)<ref>ศานิต สวัสดิกาญจน์.  2557.  พืชอุตสาหกรรม(Industrial Field crops).  โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. กรุงเทพมหานคร.</ref> และอาการขาดธาตุในมันสำปะหลัง ในปัจจุบันพบว่าโรคใบด่างมันสำปะหลังเกิดจากเชื้อไวรัส Cassava Mosaic Virus หากมีการระบาดรุนแรงสามารถส่งผลกระทบต่อผลผลิตมันสำปะหลังได้มากถึงร้อยละ 80 – 100 (ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ, 2563)<ref>ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ.  2563. วิเคราะห์สถานการณ์โรคใบด่างมันสำปะหลัง. สำนักงานเศรษฐกิจเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. ที่มา: <nowiki>https://www.nabc.go.th/disaster/baidang</nowiki>. 8 กุมภาพันธ์ 2564.</ref>  
 
# [[โรคใบไหม้ (Cassava bacterial blight)|'''โรคใบไหม้ (Cassava bacterial blight)''']]
# [[โรคใบจุดสีน้ำตาล (brown leaf spot disease)|'''โรคใบจุดสีน้ำตาล (brown leaf spot disease)''']]
# '''[[โรคใบด่างมันสำปะหลัง (Cassava mosaic disease)]]'''
# '''[[โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)]]'''
# '''[[โรครากเน่าและหัวเน่า (Root and tuber rot)]]'''
# '''[[โรครากปมมันสำปะหลัง (cassava Root-knot)]]'''
#'''[[โรคลำต้นไหม้ (stem blight disease)]]'''
#'''[[โรคพุ่มแจ้ (witches broom)]]'''
# '''[[โรคเน่าเปียก (Wet rot)]]'''
 
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ''Xanthomonas axonopodis'' pv. ''Manihotis'' (ชื่อเดิม ''X. campestris'' pv. ''manihotis'') พบว่ามีรายงานการแพร่ระบาดมาจากลาตินอเมริกาตั้งแต่ก่อนปี 1900 ต่อมาได้แพร่ระบาดไปยังทวีปแอฟริกา และแพร่ระบาดเข้ามาในทวีปเอเชียในปี 1970 รวมทั้งในประเทศไทยด้วย ในทวีปแอฟริกาโรคนี้มีความสำคัญรองลงมาจากโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส โดยทำให้ผลผลิตเสียหาย 7.5 ล้านตันต่อปี


== '''โรคใบไหม้ (Cassava bacterial blight)''' ==
== '''โรคใบไหม้ (Cassava bacterial blight)''' ==
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย ''Xanthomonas axonopodis'' pv. ''Manihotis'' (ชื่อเดิม ''X. campestris'' pv. ''manihotis'') พบว่ามีรายงานการแพร่ระบาดมาจากลาตินอเมริกาตั้งแต่ก่อนปี 1900 ต่อมาได้แพร่ระบาดไปยังทวีปแอฟริกา และแพร่ระบาดเข้ามาในทวีปเอเชียในปี 1970 รวมทั้งในประเทศไทยด้วย ในทวีปแอฟริกาโรคนี้มีความสำคัญรองลงมาจากโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส โดยทำให้ผลผลิตเสียหาย 7.5 ล้านตันต่อปี


== ลักษณะอาการ ==
=== ลักษณะอาการ ===
[[ไฟล์:ใบไหม้.png|thumb|อาการของใบที่เป็นโรคใบไหม้ (ภาพเอื้อเฟื้อจาก ดร.อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช)]]
[[ไฟล์:ใบไหม้.png|thumb|อาการของใบที่เป็นโรคใบไหม้ (ภาพเอื้อเฟื้อจาก ดร.อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช)]]
โรคใบไหม้ (Cassava bacterial blight) อาการเริ่มแรกใบจะมีลักษณะเป็นจุดฉ่ำน้ำอยู่ระหว่างเส้นใบ จุดหรือแผลใบจึงมีรูปร่างเป็นเหลี่ยม เมื่ออาการพัฒนามากขึ้นจึงทำให้ใบไหม้และมีหยดเชื้อสีขาวขุ่นอยู่ใต้ใบซึ่งเป็นกลุ่มของแบคทีเรีย (bacterial ooze) อาการของโรคส่วนมากเกิดกับใบที่อยู่ส่วนกลางของทรงพุ่มใกล้ระดับดินก่อน เมื่อเชื้อลุกลามเข้าสู่ก้านใบทำให้ใบเหี่ยว หลุดร่วง และทำให้แห้งตายได้ เมื่อผ่าดูระบบท่อน้ำท่ออาหารของลำต้นจะมีสีคล้ำ เนื่องจากเนื้อเยื่อถูกทำลาย ในต้นที่มีอาการรุนแรงจะพบอาการยางไหลบนก้านใบหรือลำต้นที่ยังอ่อนได้อีกด้วย
โรคใบไหม้ (Cassava bacterial blight) อาการเริ่มแรกใบจะมีลักษณะเป็นจุดฉ่ำน้ำอยู่ระหว่างเส้นใบ จุดหรือแผลใบจึงมีรูปร่างเป็นเหลี่ยม เมื่ออาการพัฒนามากขึ้นจึงทำให้ใบไหม้และมีหยดเชื้อสีขาวขุ่นอยู่ใต้ใบซึ่งเป็นกลุ่มของแบคทีเรีย (bacterial ooze) อาการของโรคส่วนมากเกิดกับใบที่อยู่ส่วนกลางของทรงพุ่มใกล้ระดับดินก่อน เมื่อเชื้อลุกลามเข้าสู่ก้านใบทำให้ใบเหี่ยว หลุดร่วง และทำให้แห้งตายได้ เมื่อผ่าดูระบบท่อน้ำท่ออาหารของลำต้นจะมีสีคล้ำ เนื่องจากเนื้อเยื่อถูกทำลาย ในต้นที่มีอาการรุนแรงจะพบอาการยางไหลบนก้านใบหรือลำต้นที่ยังอ่อนได้อีกด้วย
[[ไฟล์:Image.png|thumb|อาการของต้นที่เป็นโรคใบไหม้ (ภาพเอื้อเฟื้อจาก ดร.อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช)]]
[[ไฟล์:Image.png|thumb|อาการของต้นที่เป็นโรคใบไหม้ (ภาพเอื้อเฟื้อจาก ดร.อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช)]]


== การแพร่ระบาด ==
=== การแพร่ระบาด ===
เชื้อแบคทีเรียสามารถติดไปกับท่อนพันธุ์และเมล็ดพันธุ์จากต้นที่เป็นโรค โดยส่วนมากจะพบโรคในฤดูฝน และแพร่ระบาดมากในช่วงนี้ เชื้อสาเหตุสามารถอยู่ในดินที่มีเศษซากมันสำปะหลังได้นาน 21-49 วัน จากการสำรวจพบว่ามันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 5 มีความอ่อนแอต่อโรคใบไหม้มากกว่าพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50  ห้วยบง 60 และห้วยบง 80
เชื้อแบคทีเรียสามารถติดไปกับท่อนพันธุ์และเมล็ดพันธุ์จากต้นที่เป็นโรค โดยส่วนมากจะพบโรคในฤดูฝน และแพร่ระบาดมากในช่วงนี้ เชื้อสาเหตุสามารถอยู่ในดินที่มีเศษซากมันสำปะหลังได้นาน 21-49 วัน จากการสำรวจพบว่ามันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 5 มีความอ่อนแอต่อโรคใบไหม้มากกว่าพันธุ์เกษตรศาสตร์ 50  ห้วยบง 60 และห้วยบง 80


== การป้องกันกำจัด ==
=== การป้องกันกำจัด ===
เลือกใช้ท่อนพันธุ์ที่ปราศจากโรคใบไหม้ เตรียมแปลงปลูกให้มีการระบายน้ำที่ดี วางระยะปลูกให้เหมาะสมไม่ควรปลูกหนาแน่นเกินไป กำจัดชิ้นส่วนมันสำปะหลังที่เป็นโรคออกจากแปลง และอาจใช้เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ฉีดป้องกันโรคก่อนถึงฤดูฝน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref>
เลือกใช้ท่อนพันธุ์ที่ปราศจากโรคใบไหม้ เตรียมแปลงปลูกให้มีการระบายน้ำที่ดี วางระยะปลูกให้เหมาะสมไม่ควรปลูกหนาแน่นเกินไป กำจัดชิ้นส่วนมันสำปะหลังที่เป็นโรคออกจากแปลง และอาจใช้เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ฉีดป้องกันโรคก่อนถึงฤดูฝน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref>


โรคนี้อาจเรียกว่าโรค BLS เกิดจากเชื้อรา ''Cercosporidium henningsii'' หรือ ''Cercospora henningsii'' เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อราที่ทำความเสียหายให้แก่มันสำปะหลังที่สำคัญโรคหนึ่ง ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทำให้มันสำปะหลังที่เป็นโรคมีจุดสีเหลืองกระจายอยู่ทั่วทั้งใบ เป็นการลดพื้นที่ใบในการสังเคราะห์แสง (เจริญศักดิ์, 2532<ref>เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์. 2532.  มันสำปะหลัง การปลูก อุตสาหกรรมแปรรูป และการใช้ประโยชน์. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.</ref>) ส่วนทางอ้อมพบว่าโรคใบจุดสีน้ำตาลทำให้ใบมันสำปะหลังร่วงหลังจากปลูก และร่วงมากขึ้นเมื่อปลูกไปแล้ว 5 เดือน (เจริญศักดิ์, 2529<ref>เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์ ปิยะวุฒิ พูลสงวน สมยศ พุทธเจริญ จำลอง เจียมจำนรรจา             ลมัย ศรีจันทร์ดี และวิทยา แสงแก้วสุข.  2529.  ความสำคัญทางเศรษฐกิจของโรคใบจุดสีน้ำตาลของมันสำปะหลังในประเทศไทย.  ใน การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 24. </ref>) โรคนี้ทำให้ใบของมันสำปะหลังร่วงก่อนกำหนดเป็นผลให้วัชพืชขึ้นแก่งแย่งแข่งขันได้ดี ทำให้มันสำปะหลังสร้างหัวใต้ดินน้อย และผลผลิตลดลงในที่สุด โรคใบจุดสีน้ำตาลแสดงอาการผิดปกติเฉพาะส่วนใบเท่านั้น พบอาการใบจุดในตำแหน่งของใบที่อยู่ด้านล่างมากกว่าใบที่อยู่ด้านบน โดยแสดงอาการผิดปกติใน 2 ระยะ คือ ระยะแรกด้านใบมีลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาลค่อนข้างเหลี่ยมตามเส้นใบ มีขอบชัดเจน และเมื่อสังเกตด้านหลังใบพบจุดแผลมีสีเทา เนื่องจากเส้นใยของเชื้อขึ้นปกคลุมส่วนใน ระยะที่สองปรากฏขอบแผลสีเหลืองรอบจุดสีน้ำตาลและ ถ้ารุนแรงขึ้นตรงกลางแผลมีอาการแห้งและหลุดออกเป็นรูกลวง (ศานิต, 2557<ref>ศานิต สวัสดิกาญจน์.  2557.  พืชอุตสาหกรรม(Industrial Field crops).  โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. กรุงเทพมหานคร.</ref>)  
โรคนี้อาจเรียกว่าโรค BLS เกิดจากเชื้อรา ''Cercosporidium henningsii'' หรือ ''Cercospora henningsii'' เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อราที่ทำความเสียหายให้แก่มันสำปะหลังที่สำคัญโรคหนึ่ง ทั้งทางตรงและทางอ้อม ทำให้มันสำปะหลังที่เป็นโรคมีจุดสีเหลืองกระจายอยู่ทั่วทั้งใบ เป็นการลดพื้นที่ใบในการสังเคราะห์แสง (เจริญศักดิ์, 2532<ref>เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์. 2532.  มันสำปะหลัง การปลูก อุตสาหกรรมแปรรูป และการใช้ประโยชน์. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.</ref>) ส่วนทางอ้อมพบว่าโรคใบจุดสีน้ำตาลทำให้ใบมันสำปะหลังร่วงหลังจากปลูก และร่วงมากขึ้นเมื่อปลูกไปแล้ว 5 เดือน (เจริญศักดิ์, 2529<ref>เจริญศักดิ์ โรจนฤทธิ์พิเชษฐ์ ปิยะวุฒิ พูลสงวน สมยศ พุทธเจริญ จำลอง เจียมจำนรรจา             ลมัย ศรีจันทร์ดี และวิทยา แสงแก้วสุข.  2529.  ความสำคัญทางเศรษฐกิจของโรคใบจุดสีน้ำตาลของมันสำปะหลังในประเทศไทย.  ใน การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 24. </ref>) โรคนี้ทำให้ใบของมันสำปะหลังร่วงก่อนกำหนดเป็นผลให้วัชพืชขึ้นแก่งแย่งแข่งขันได้ดี ทำให้มันสำปะหลังสร้างหัวใต้ดินน้อย และผลผลิตลดลงในที่สุด โรคใบจุดสีน้ำตาลแสดงอาการผิดปกติเฉพาะส่วนใบเท่านั้น พบอาการใบจุดในตำแหน่งของใบที่อยู่ด้านล่างมากกว่าใบที่อยู่ด้านบน โดยแสดงอาการผิดปกติใน 2 ระยะ คือ ระยะแรกด้านใบมีลักษณะเป็นจุดสีน้ำตาลค่อนข้างเหลี่ยมตามเส้นใบ มีขอบชัดเจน และเมื่อสังเกตด้านหลังใบพบจุดแผลมีสีเทา เนื่องจากเส้นใยของเชื้อขึ้นปกคลุมส่วนใน ระยะที่สองปรากฏขอบแผลสีเหลืองรอบจุดสีน้ำตาลและ ถ้ารุนแรงขึ้นตรงกลางแผลมีอาการแห้งและหลุดออกเป็นรูกลวง (ศานิต, 2557<ref>ศานิต สวัสดิกาญจน์.  2557.  พืชอุตสาหกรรม(Industrial Field crops).  โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. กรุงเทพมหานคร.</ref>)


== '''โรคใบจุดสีน้ำตาล (brown leaf spot disease)''' ==
== '''โรคใบจุดสีน้ำตาล (brown leaf spot disease)''' ==
[[ไฟล์:Image4.png|thumb|ลักษณะอาการของโรคใบจุดสีน้ำตาลบริเวณใบมันสำปะหลัง]]  
[[ไฟล์:Image4.png|thumb|ลักษณะอาการของโรคใบจุดสีน้ำตาลบริเวณใบมันสำปะหลัง]]  


== ลักษณะอาการ ==
=== ลักษณะอาการ ===
โดยทั่วไปต้นที่เป็นโรคมีการเจริญเติบโตเป็นปกติ จะพบอาการของโรคบนใบล่างๆ มากกว่าใบบนซึ่งมีอายุน้อยกว่า มีรายงานว่าใบมันสำปะหลังอายุ 5 - 15 วัน จะทนทานต่อการเกิดโรค และจะอ่อนแอ พบเป็นโรคเมื่ออายุ 25 วันขึ้นไป โดยเกิดอาการใบจุดค่อนข้างเหลี่ยมตามเส้นใบมีความสม่ำเสมอ สีน้ำตาล ขนาด 3 - 15 มิลลิเมตร มีขอบชัดเจนจุดแผลด้านหลังใบมีสีเทา เนื่องจากมีเส้นใยและส่วนขยายพันธุ์ (fruiting bodies) ของเชื้อสาเหตุในพันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรค แผลจะล้อมรอบด้วยวงสีเหลือง (yellow halo) และตรงกลางแผลอาจจะแห้งและหลุดเป็นรู (รัตติกาล และณัฐวุฒิ, 2555<ref>รัตติกาล สู้ภัยพาล และ ณัฐวุฒิ ศิริมานะ.  2555.  การประเมินระดับความรุนแรงของโรคพืชด้วยการวิเคราะห์ภาพ. โครงงานวิศวกรรมเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม</ref>)
โดยทั่วไปต้นที่เป็นโรคมีการเจริญเติบโตเป็นปกติ จะพบอาการของโรคบนใบล่างๆ มากกว่าใบบนซึ่งมีอายุน้อยกว่า มีรายงานว่าใบมันสำปะหลังอายุ 5 - 15 วัน จะทนทานต่อการเกิดโรค และจะอ่อนแอ พบเป็นโรคเมื่ออายุ 25 วันขึ้นไป โดยเกิดอาการใบจุดค่อนข้างเหลี่ยมตามเส้นใบมีความสม่ำเสมอ สีน้ำตาล ขนาด 3 - 15 มิลลิเมตร มีขอบชัดเจนจุดแผลด้านหลังใบมีสีเทา เนื่องจากมีเส้นใยและส่วนขยายพันธุ์ (fruiting bodies) ของเชื้อสาเหตุในพันธุ์ที่อ่อนแอต่อโรค แผลจะล้อมรอบด้วยวงสีเหลือง (yellow halo) และตรงกลางแผลอาจจะแห้งและหลุดเป็นรู (รัตติกาล และณัฐวุฒิ, 2555<ref>รัตติกาล สู้ภัยพาล และ ณัฐวุฒิ ศิริมานะ.  2555.  การประเมินระดับความรุนแรงของโรคพืชด้วยการวิเคราะห์ภาพ. โครงงานวิศวกรรมเกษตร. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม</ref>)


เชื้อรา ''C. henningsii'' มี perfect stage ที่ชื่อว่า ''Mycosphaerella henningsii'' ลักษณะสำคัญของเชื้อรานี้ สร้างก้านชูสปอร์ (conidiophores) เกิดเป็นกลุ่มเกาะกันอยู่ ก้านสปอร์มีลักษณะรูปร่างเรียวยาว ปลายของก้านชูสปอร์โค้งเล็กน้อย หรือบางครั้งก้านชูสปอร์สามารถแตกแขนงได้ มีสีซีดจางไปจนถึง สีน้ำตาล มีผนังกั้น (septate) ซึ่งมีรอยของ scar เห็นได้ชัด โคนิเดีย (conidia) มีสีซีดจนถึงน้ำตาลอ่อน โคนิเดียมีขนาด 3.5 - 5 x 14 - 18 ไมครอน มี 3 - 7 เซลล์ (Charles, 1953<ref>Charles, C.  1953.  A monograph of the fungi genus Cercospora. Plant pathology. 667 p.</ref>; Pattana ''et al''., 1980<ref>Pattana, S., P Prapaisri, C. Wirat and G. Piya.  1980. Plant Pathogenic Cercosporae in Thailand. Plant pathology and Microbiology Division Department of Agriculture.  Ministry of agriculture and Cooperatives, Bangkok</ref>; Vasudeva, 1963<ref>Vasudeva, R.S.  1963.  Indian Cercosporae. Indian Council of Agricultural Research, New Deli.</ref>)
เชื้อรา ''C. henningsii'' มี perfect stage ที่ชื่อว่า ''Mycosphaerella henningsii'' ลักษณะสำคัญของเชื้อรานี้ สร้างก้านชูสปอร์ (conidiophores) เกิดเป็นกลุ่มเกาะกันอยู่ ก้านสปอร์มีลักษณะรูปร่างเรียวยาว ปลายของก้านชูสปอร์โค้งเล็กน้อย หรือบางครั้งก้านชูสปอร์สามารถแตกแขนงได้ มีสีซีดจางไปจนถึง สีน้ำตาล มีผนังกั้น (septate) ซึ่งมีรอยของ scar เห็นได้ชัด โคนิเดีย (conidia) มีสีซีดจนถึงน้ำตาลอ่อน โคนิเดียมีขนาด 3.5 - 5 x 14 - 18 ไมครอน มี 3 - 7 เซลล์ (Charles, 1953<ref>Charles, C.  1953.  A monograph of the fungi genus Cercospora. Plant pathology. 667 p.</ref>; Pattana ''et al''., 1980<ref>Pattana, S., P Prapaisri, C. Wirat and G. Piya.  1980. Plant Pathogenic Cercosporae in Thailand. Plant pathology and Microbiology Division Department of Agriculture.  Ministry of agriculture and Cooperatives, Bangkok</ref>; Vasudeva, 1963<ref>Vasudeva, R.S.  1963.  Indian Cercosporae. Indian Council of Agricultural Research, New Deli.</ref>)


== การแพร่ระบาด ==
=== การแพร่ระบาด ===
เชื้อราสาเหตุของโรคสามารถอาศัยอยู่ได้บนใบมันสำปะหลังที่ร่วงอยู่ในไร่ และจะขยายพันธุ์โดยการสร้างสปอร์ เมื่อมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สปอร์เหล่านี้จะแพร่กระจายโดยลม หรือน้ำฝนไปตกบนใบปกติ ทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคได้ต่อไป สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการแพร่ระบาดของโรค ได้แก่ ความชื้น อุณหภูมิ และอายุของพืช การสร้างสปอร์หรือโคนิเดีย (spores of conidia) จะเกิดขึ้นเมื่อมีความชื้นสัมพัทธ์ระหว่าง 50-90 เปอร์เซ็นต์ และอุณหภูมิที่ทำให้สปอร์งอกได้ดีที่สุดอยู่ระหว่าง 39-43 องศาเซลเซียส ดังนั้นเราจึงสามารถพบโรคใบจุดสีน้ำตาลในพื้นที่ที่มีสภาพความชื้นต่ำและแห้งแล้งได้ โดยปกติโรคจะส่งผลกระทบต่อผลผลิตไม่มาก แต่กรณีที่เกิดโรครุนแรงอาจมีผลกระทบต่อพันธุ์อ่อนแอ การศึกษาความต้านทานของมันสำปะหลังต่อโรคใบจุดสีน้ำตาลพบว่า พันธุ์ ระยอง 90 และ ห้วยบง 60 มีความต้านทานต่อโรคใบจุดสีน้ำตาลมากกว่าพันธุ์ เกษตรศาสตร์ 50, ห้วยบง 80, MCKU 34-114-235, MCKU 34-114-245, ระยอง 1, ระยอง 5, ระยอง 60 และระยอง 72 ซึ่งมีความต้านทานโรคในระดับปานกลาง และมีรายงานว่าโรคนี้ทำให้ผลผลิตลดลง 14-20 เปอร์เซ็นต์ในพันธุ์ระยอง 1 เนื่องจากทำให้ใบมันสำปะหลังร่วงเร็วกว่าปกติ นอกเหนือจากมันสำปะหลังแล้ว เชื้อโรคนี้ยังสามารถอาศัยในพืชอื่นได้ เช่น ''M. glaziovii M. piauhynsis'' และ มันเทศ (''Ipomoea batatas'') (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556<ref>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref>)
เชื้อราสาเหตุของโรคสามารถอาศัยอยู่ได้บนใบมันสำปะหลังที่ร่วงอยู่ในไร่ และจะขยายพันธุ์โดยการสร้างสปอร์ เมื่อมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม สปอร์เหล่านี้จะแพร่กระจายโดยลม หรือน้ำฝนไปตกบนใบปกติ ทำให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคได้ต่อไป สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการแพร่ระบาดของโรค ได้แก่ ความชื้น อุณหภูมิ และอายุของพืช การสร้างสปอร์หรือโคนิเดีย (spores of conidia) จะเกิดขึ้นเมื่อมีความชื้นสัมพัทธ์ระหว่าง 50-90 เปอร์เซ็นต์ และอุณหภูมิที่ทำให้สปอร์งอกได้ดีที่สุดอยู่ระหว่าง 39-43 องศาเซลเซียส ดังนั้นเราจึงสามารถพบโรคใบจุดสีน้ำตาลในพื้นที่ที่มีสภาพความชื้นต่ำและแห้งแล้งได้ โดยปกติโรคจะส่งผลกระทบต่อผลผลิตไม่มาก แต่กรณีที่เกิดโรครุนแรงอาจมีผลกระทบต่อพันธุ์อ่อนแอ การศึกษาความต้านทานของมันสำปะหลังต่อโรคใบจุดสีน้ำตาลพบว่า พันธุ์ ระยอง 90 และ ห้วยบง 60 มีความต้านทานต่อโรคใบจุดสีน้ำตาลมากกว่าพันธุ์ เกษตรศาสตร์ 50, ห้วยบง 80, MCKU 34-114-235, MCKU 34-114-245, ระยอง 1, ระยอง 5, ระยอง 60 และระยอง 72 ซึ่งมีความต้านทานโรคในระดับปานกลาง และมีรายงานว่าโรคนี้ทำให้ผลผลิตลดลง 14-20 เปอร์เซ็นต์ในพันธุ์ระยอง 1 เนื่องจากทำให้ใบมันสำปะหลังร่วงเร็วกว่าปกติ นอกเหนือจากมันสำปะหลังแล้ว เชื้อโรคนี้ยังสามารถอาศัยในพืชอื่นได้ เช่น ''M. glaziovii M. piauhynsis'' และ มันเทศ (''Ipomoea batatas'') (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556<ref>มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref>)


== การป้องกันกำจัด ==
=== การป้องกันกำจัด ===
ใช้สารเคมี เช่น สารประกอบทองแดง (copper compound) หรือสารเบโนมิล (benomyl) พ่นให้ทั่วบริเวณที่เป็นโรคอย่างน้อย 1-2 ครั้ง เพื่อลดการระบาดของโรค การใช้พันธุ์ต้านทาน และควรกำจัดใบที่เป็นโรคออกจากแปลง
ใช้สารเคมี เช่น สารประกอบทองแดง (copper compound) หรือสารเบโนมิล (benomyl) พ่นให้ทั่วบริเวณที่เป็นโรคอย่างน้อย 1-2 ครั้ง เพื่อลดการระบาดของโรค การใช้พันธุ์ต้านทาน และควรกำจัดใบที่เป็นโรคออกจากแปลง
[[หมวดหมู่:โรค]]
[[หมวดหมู่:โรค]]
บรรทัดที่ 51: บรรทัดที่ 40:
มันสำปะหลังที่แสดงอาการของโรคใบด่างจะแสดงอาการใบด่างเหลือง ใบเสียรูปทรง ยอดที่แตกใหม่จะแสดงอาการด่างเหลือง ลำต้นมีลักษณะแคระแกร็น หัวมันสำปะหลังมีขนาดเล็กกว่าปกติ โดยอาการจะเริ่มต้นที่ใบยอดก่อนโดยเริ่มจากอาการเส้นใบใส จากนั้นเปลี่ยนเป็นใบด่างคล้ายลายหินขัด (mosaic) ในเนื้อใบส่วนที่มีสีซีดมักบางหรือเจริญลดลงทำให้ใบมีลักษณะผิดรูป (distort) หรือบิดเบี้ยว (crinkling) ในมันสำปะหลังบางพันธ์ หรือในสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของมันสำปะหลัง อาจแสดงอาการของโรคไม่ชัดเจน เนื่องมาจากมีการตอบโต้ป้องกันตัวเองจากมันสำปะหลัง ในขณะที่มีการปลูกมันสำปะหลังในพันธุ์เดิมพื้นที่เดิม อาจส่งผลให้เกิดการระบาดรุนแรงขึ้น หากเกิดการกลายพันธุ์หรือมีการเข้าทำลายร่วมกับเชื้อชนิดอื่น จะส่งผลให้มันสำปะหลังที่เป็นโรคมีขนาดหัวมัน จำนวน และเปอร์เซ็นต์แป้งลดลง (โสภณ, 2560<ref>โสภณ วงศ์แก้ว.  2560.  ไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง: วายร้ายระดับโลก. </ref>)
มันสำปะหลังที่แสดงอาการของโรคใบด่างจะแสดงอาการใบด่างเหลือง ใบเสียรูปทรง ยอดที่แตกใหม่จะแสดงอาการด่างเหลือง ลำต้นมีลักษณะแคระแกร็น หัวมันสำปะหลังมีขนาดเล็กกว่าปกติ โดยอาการจะเริ่มต้นที่ใบยอดก่อนโดยเริ่มจากอาการเส้นใบใส จากนั้นเปลี่ยนเป็นใบด่างคล้ายลายหินขัด (mosaic) ในเนื้อใบส่วนที่มีสีซีดมักบางหรือเจริญลดลงทำให้ใบมีลักษณะผิดรูป (distort) หรือบิดเบี้ยว (crinkling) ในมันสำปะหลังบางพันธ์ หรือในสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของมันสำปะหลัง อาจแสดงอาการของโรคไม่ชัดเจน เนื่องมาจากมีการตอบโต้ป้องกันตัวเองจากมันสำปะหลัง ในขณะที่มีการปลูกมันสำปะหลังในพันธุ์เดิมพื้นที่เดิม อาจส่งผลให้เกิดการระบาดรุนแรงขึ้น หากเกิดการกลายพันธุ์หรือมีการเข้าทำลายร่วมกับเชื้อชนิดอื่น จะส่งผลให้มันสำปะหลังที่เป็นโรคมีขนาดหัวมัน จำนวน และเปอร์เซ็นต์แป้งลดลง (โสภณ, 2560<ref>โสภณ วงศ์แก้ว.  2560.  ไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง: วายร้ายระดับโลก. </ref>)


== การแพร่ระบาด ==
=== การแพร่ระบาด ===
เชื้อไวรัส ''Cassava mosaic virus'' สามารถแพร่ระบาดได้โดยติดไปกับท่อนพันธุ์ และวิธีการถ่ายทอดผ่านแมลงหวี่ขาวยาสูบ (อุดมศักดิ์, 2555<ref>อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>) แมลงหวี่ขาวยาสูบ (tobacco whitefly) ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Bemisia tabaci'' (Gennadius) โดยแมลงหวี่ขาวยาสูบจะไปดูดกินน้ำเลี้ยงของต้นมันสำปะหลังที่เป็นโรค จากนั้นอนุภาคไวรัสจะติดที่ปลายปากของแมลงหวี่ขาว และเข้าไปเพิ่มปริมาณในตัว จากนั้นการถ่ายทอดเชื้อไวรัสจะเกิดขึ้นเมื่อแมลงไปดูดกินน้ำเลี้ยงของมันสำปะหลังในต้นต่อไป (วันวิสา. 2561<ref>วันวิสา ศิริวรรณ์.  2561.  โรคไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง. ที่มา: <nowiki>https://www.tapiocathai.org/P.html</nowiki>. วันที่สืบค้น 11 กุมภาพันธ์ 2563.</ref>)โดยตัวเต็มวัยของแมลงมีความยาว 1 มิลลิเมตร ปีกสีขาว ลำตัวสีเหลืองอ่อน มักพบเกาะตามใบมันสำปะหลัง วางไข่และฟักตัวอ่อนจนครบวงจรชีวิต (สำนักงานวิจัยและพัฒนาการอารักขาพืช. 2561<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2561.  คู่มือการสำรวจและเฝ้าระวังโรคใบด่างของมันสำปะหลัง. กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ.</ref>) โดยแมลงหวี่ขาวยาสูบมีพืชอาศัยหลายชนิด เช่น กะเพรา โหระพา ผักชีฝรั่ง พืชตระกูลพริก มะเขือ มันฝรั่ง และพืชตระกูลแตง ส่งผลให้เชื้อไวรัสสามารถแพร่ระบาดไปได้อย่างกว้างขวาง (สำนักงานข่าวประชาสัมพันธ์. 2563<ref>สำนักงานข่าวประชาสัมพันธ์.  2563. เตือนเกษตรกร เฝ้าระวังโรคใบด่างมันสำปะหลัง. ที่มา: <nowiki>https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/TCATG200810184913696</nowiki>. วันที่สืบค้น 11 กุมภาพันธ์ 2564. </ref>)
เชื้อไวรัส ''Cassava mosaic virus'' สามารถแพร่ระบาดได้โดยติดไปกับท่อนพันธุ์ และวิธีการถ่ายทอดผ่านแมลงหวี่ขาวยาสูบ (อุดมศักดิ์, 2555<ref>อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>) แมลงหวี่ขาวยาสูบ (tobacco whitefly) ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Bemisia tabaci'' (Gennadius) โดยแมลงหวี่ขาวยาสูบจะไปดูดกินน้ำเลี้ยงของต้นมันสำปะหลังที่เป็นโรค จากนั้นอนุภาคไวรัสจะติดที่ปลายปากของแมลงหวี่ขาว และเข้าไปเพิ่มปริมาณในตัว จากนั้นการถ่ายทอดเชื้อไวรัสจะเกิดขึ้นเมื่อแมลงไปดูดกินน้ำเลี้ยงของมันสำปะหลังในต้นต่อไป (วันวิสา. 2561<ref>วันวิสา ศิริวรรณ์.  2561.  โรคไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง. ที่มา: <nowiki>https://www.tapiocathai.org/P.html</nowiki>. วันที่สืบค้น 11 กุมภาพันธ์ 2563.</ref>)โดยตัวเต็มวัยของแมลงมีความยาว 1 มิลลิเมตร ปีกสีขาว ลำตัวสีเหลืองอ่อน มักพบเกาะตามใบมันสำปะหลัง วางไข่และฟักตัวอ่อนจนครบวงจรชีวิต (สำนักงานวิจัยและพัฒนาการอารักขาพืช. 2561<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2561.  คู่มือการสำรวจและเฝ้าระวังโรคใบด่างของมันสำปะหลัง. กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพฯ.</ref>) โดยแมลงหวี่ขาวยาสูบมีพืชอาศัยหลายชนิด เช่น กะเพรา โหระพา ผักชีฝรั่ง พืชตระกูลพริก มะเขือ มันฝรั่ง และพืชตระกูลแตง ส่งผลให้เชื้อไวรัสสามารถแพร่ระบาดไปได้อย่างกว้างขวาง (สำนักงานข่าวประชาสัมพันธ์. 2563<ref>สำนักงานข่าวประชาสัมพันธ์.  2563. เตือนเกษตรกร เฝ้าระวังโรคใบด่างมันสำปะหลัง. ที่มา: <nowiki>https://thainews.prd.go.th/th/news/detail/TCATG200810184913696</nowiki>. วันที่สืบค้น 11 กุมภาพันธ์ 2564. </ref>)


== การป้องกันกำจัด ==
=== การป้องกันกำจัด ===
หากมีการพบมันสำปะหลังที่แสดงอาการมากกว่า 10 ต้นต่อไร่ ทำการถอนทำลายต้นมันสำปะหลังทิ้งทั้งแปลง โดยไม่ให้เหลือเศษซากพืชหรือชิ้นส่วนของต้นมันสำปะหลังหลงเหลืออยู่ในแปลง จากนั้นทำการฝังกลบในหลุมลึกไม่น้อยกว่า 2 – 3 เมตร ราดด้วยสารกำจัดวัชพืช อะมีทรีน 80% WG และกลบด้วยดินหนาไม่น้อยกว่า 0.5 เมตร ทำการพ่นด้วยสารฆ่าแมลงเพื่อกำจัดแมลงหวี่ขาวยาสูบ ด้วยสารเคมี อิมิดาโคลพริด 70 % WG อัตรา 12 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ ไดโนฟูแรน 10% SL อัตรา 20 มิลลิลิตร ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ ไทอะมีโทแซม 25% WG อัตรา 12 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร บนต้นมันสำปะหลังในแปลงที่พบอาการใบด่าง และแปลงงข้างเคียง (กรมวิชาการเกษตร, ม.ป.ป.<ref>กรมวิชาการเกษตร.  ม.ป.ป. โรคใบด่างมันสำปะหลัง. เอกสารวิชาการ: แนวทางการเฝ้าระวังและป้องกันกำจัดโรคใบด่างมันสำปะหลัง. กรุงเทพฯ.</ref>)
หากมีการพบมันสำปะหลังที่แสดงอาการมากกว่า 10 ต้นต่อไร่ ทำการถอนทำลายต้นมันสำปะหลังทิ้งทั้งแปลง โดยไม่ให้เหลือเศษซากพืชหรือชิ้นส่วนของต้นมันสำปะหลังหลงเหลืออยู่ในแปลง จากนั้นทำการฝังกลบในหลุมลึกไม่น้อยกว่า 2 – 3 เมตร ราดด้วยสารกำจัดวัชพืช อะมีทรีน 80% WG และกลบด้วยดินหนาไม่น้อยกว่า 0.5 เมตร ทำการพ่นด้วยสารฆ่าแมลงเพื่อกำจัดแมลงหวี่ขาวยาสูบ ด้วยสารเคมี อิมิดาโคลพริด 70 % WG อัตรา 12 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ ไดโนฟูแรน 10% SL อัตรา 20 มิลลิลิตร ต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ ไทอะมีโทแซม 25% WG อัตรา 12 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร บนต้นมันสำปะหลังในแปลงที่พบอาการใบด่าง และแปลงงข้างเคียง (กรมวิชาการเกษตร, ม.ป.ป.<ref>กรมวิชาการเกษตร.  ม.ป.ป. โรคใบด่างมันสำปะหลัง. เอกสารวิชาการ: แนวทางการเฝ้าระวังและป้องกันกำจัดโรคใบด่างมันสำปะหลัง. กรุงเทพฯ.</ref>)


== '''โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)''' ==
== '''โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)''' ==
[[หมวดหมู่:โรค]]
[[หมวดหมู่:โรค]]
== ลักษณะอาการ ==
=== ลักษณะอาการ ===
[[ไฟล์:Image7.png|thumb|ลักษณะอาการของโรคแอนแทรคโนสบริเวณยอด ก้านใบ และกิ่ง ของมันสำปะหลัง]]
[[ไฟล์:Image7.png|thumb|ลักษณะอาการของโรคแอนแทรคโนสบริเวณยอด ก้านใบ และกิ่ง ของมันสำปะหลัง]]
จะแสดงอาการในส่วนของยอด ลำต้น ก้านใบ และใบ โดยในส่วนยอดจะแสดงอาการยอดตายแผลมีขอบชัดเจน สีน้ำตาลถึงดำ ก้านใบจะแสดงเป็นรอยไหม้ที่โคนก้านใบติดกับลำต้น และก้านใบที่อยู่ติดกับตัวใบหักลู่ลงในที่สุดจะหลุดร่วงทั้งต้น ใบ มีอาการไหม้ที่ขอบใบ และปลายใบ ขยายตัวเข้าสู่กลางใบและไหม้หมดในที่สุด  ถ้าเป็นพันธุ์ที่อ่อนแอมาก จะมีอาการยืนต้นตาย หรือพันธุ์ที่ค่อนข้างทนทานต่อโรค ยอดจะหักทำให้มีการแตกกิ่งหรือยอดใหม่มาทดแทน นอกจากนี้ยังส่งผลต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์และท่อนพันธุ์ที่นำไปปลูก ทำให้อัตราการงอกและความสมบูรณ์ของต้นลดลง (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>
จะแสดงอาการในส่วนของยอด ลำต้น ก้านใบ และใบ โดยในส่วนยอดจะแสดงอาการยอดตายแผลมีขอบชัดเจน สีน้ำตาลถึงดำ ก้านใบจะแสดงเป็นรอยไหม้ที่โคนก้านใบติดกับลำต้น และก้านใบที่อยู่ติดกับตัวใบหักลู่ลงในที่สุดจะหลุดร่วงทั้งต้น ใบ มีอาการไหม้ที่ขอบใบ และปลายใบ ขยายตัวเข้าสู่กลางใบและไหม้หมดในที่สุด  ถ้าเป็นพันธุ์ที่อ่อนแอมาก จะมีอาการยืนต้นตาย หรือพันธุ์ที่ค่อนข้างทนทานต่อโรค ยอดจะหักทำให้มีการแตกกิ่งหรือยอดใหม่มาทดแทน นอกจากนี้ยังส่งผลต่อการงอกของเมล็ดพันธุ์และท่อนพันธุ์ที่นำไปปลูก ทำให้อัตราการงอกและความสมบูรณ์ของต้นลดลง (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>


== การแพร่ระบาด ==
=== การแพร่ระบาด ===
โรคนี้สามารถระบาดไปกับท่อนพันธุ์และเมล็ดพันธุ์ได้  
โรคนี้สามารถระบาดไปกับท่อนพันธุ์และเมล็ดพันธุ์ได้  


== การป้องกันกำจัด ==
=== การป้องกันกำจัด ===
ตัดส่วนที่ป็นโรคไปเผาทำลาย พ่นสารเบโนมิล (benomyl) หรือการใช้เชื้อราปฏิปักษ์ไตรโคเดอร์มา ฮาเซียนัม (''Trichoderma harzianum'') พ่นควบคุมโรค 3 – 5 ครั้งจนกว่าโรคจะหยุดระบาด (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>
ตัดส่วนที่ป็นโรคไปเผาทำลาย พ่นสารเบโนมิล (benomyl) หรือการใช้เชื้อราปฏิปักษ์ไตรโคเดอร์มา ฮาเซียนัม (''Trichoderma harzianum'') พ่นควบคุมโรค 3 – 5 ครั้งจนกว่าโรคจะหยุดระบาด (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>


เป็นโรคที่ส่งผลต่อผลผลิตทั้งปริมาณและคุณภาพ โดยพบโรคนี้มากในพื้นที่ที่ระบายน้ำไม่ดี มีปริมาณน้ำฝนมากเกินไปหรือเป็นพื้นที่ที่เคยมีการปลูกกาแฟ ยาง หรือเป็นป่าไม้มาก่อน ในบางครั้งสามารถพบในพื้นที่ที่มีการชะล้างสูง สามารถเกิดได้ทั้งระยะ ต้นกล้า และระยะลงหัวแล้ว สาเหตุโรครากเน่าและหัวเน่าเกิดจากเชื้อราและเชื้อแบคทีเรียหลายชนิด เช่น  ''Phytophthora'' sp., ''Sclerotium'' sp., ''Rigidoporus'' (Fomes) ''lignosus''
เป็นโรคที่ส่งผลต่อผลผลิตทั้งปริมาณและคุณภาพ โดยพบโรคนี้มากในพื้นที่ที่ระบายน้ำไม่ดี มีปริมาณน้ำฝนมากเกินไปหรือเป็นพื้นที่ที่เคยมีการปลูกกาแฟ ยาง หรือเป็นป่าไม้มาก่อน ในบางครั้งสามารถพบในพื้นที่ที่มีการชะล้างสูง สามารถเกิดได้ทั้งระยะ ต้นกล้า และระยะลงหัวแล้ว สาเหตุโรครากเน่าและหัวเน่าเกิดจากเชื้อราและเชื้อแบคทีเรียหลายชนิด เช่น  ''Phytophthora'' sp., ''Sclerotium'' sp., ''Rigidoporus'' (Fomes) ''lignosus''


[[หมวดหมู่:โรค]]
== '''โรครากเน่าและหัวเน่า (Root and tuber rot)''' ==
== '''โรครากเน่าและหัวเน่า (Root and tuber rot)''' ==
[[หมวดหมู่:โรค]]
== ลักษณะอาการ ==
[[ไฟล์:Image8.png|thumb|ลักษณะอาการของโรครากเน่าและหัวเน่าบริเวณหัวของมันสำปะหลัง]]
[[ไฟล์:Image8.png|thumb|ลักษณะอาการของโรครากเน่าและหัวเน่าบริเวณหัวของมันสำปะหลัง]]
จากเชื้อรา ''Phytophthora'' sp. แสดงอาการที่รากเป็นรอยช้ำสีน้ำตาลและเน่า บนต้นจะแสดงอาการเหี่ยวเฉา หากเข้าทำลายในระยะลงหัวจะทำให้หัวเน่าอย่างรวดเร็ว และมีกลิ่นเหม็น ใบเหี่ยวหลุดร่วง ถ้ารุนแรงจะส่งผลให้ต้นมันสำปะหลังตายได้


         จากเชื้อรา ''Sclerotium'' sp. จะสังเกตเห็นเส้นใยสีขาวเจริญอยู่ในดินบริเวณรอบโคนท่อนพันธุ์และราก บางครั้งอาจพบบนท่อนพันธุ์มีเม็ดกลมเล็กๆ ขนาดเท่าเมล็ดผักกาดเรียกว่า sclerotia ที่สร้างโดยเส้นใยเชื้อราชนิดนี้อยู่ ซึ่งจะเป็นส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อ สามารถอยู่ในดินได้เป็นเวลานานหลายปี เมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมเหมาะสมเม็ด sclerotia จะเจริญเติบโตเป็นเส้นใยเข้าทำลายต้นอื่นต่อไป เส้นใยของเชื้อจะเข้าทำลายมันสำปะหลังทำให้ระบบรากเน่า ใบเหี่ยวและตายในที่สุด
=== ลักษณะอาการ ===


== การแพร่ระบาด ==
* จากเชื้อรา ''Phytophthora'' sp. แสดงอาการที่รากเป็นรอยช้ำสีน้ำตาลและเน่า บนต้นจะแสดงอาการเหี่ยวเฉา หากเข้าทำลายในระยะลงหัวจะทำให้หัวเน่าอย่างรวดเร็ว และมีกลิ่นเหม็น ใบเหี่ยวหลุดร่วง ถ้ารุนแรงจะส่งผลให้ต้นมันสำปะหลังตายได้
* จากเชื้อรา ''Sclerotium'' sp. จะสังเกตเห็นเส้นใยสีขาวเจริญอยู่ในดินบริเวณรอบโคนท่อนพันธุ์และราก บางครั้งอาจพบบนท่อนพันธุ์มีเม็ดกลมเล็กๆ ขนาดเท่าเมล็ดผักกาดเรียกว่า sclerotia ที่สร้างโดยเส้นใยเชื้อราชนิดนี้อยู่ ซึ่งจะเป็นส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อ สามารถอยู่ในดินได้เป็นเวลานานหลายปี เมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมเหมาะสมเม็ด sclerotia จะเจริญเติบโตเป็นเส้นใยเข้าทำลายต้นอื่นต่อไป เส้นใยของเชื้อจะเข้าทำลายมันสำปะหลังทำให้ระบบรากเน่า ใบเหี่ยวและตายในที่สุด
 
=== การแพร่ระบาด ===
โดยส่วนใหญ่จะเกิดปัญหาเฉพาะบางพื้นที่และในพื้นที่ที่มีการระบายน้ำได้ไม่ดี  
โดยส่วนใหญ่จะเกิดปัญหาเฉพาะบางพื้นที่และในพื้นที่ที่มีการระบายน้ำได้ไม่ดี  


== การป้องกันกำจัด ==
=== การป้องกันกำจัด ===
เริ่มจากการเตรียมแปลงปลูกให้มีการระบายน้ำได้ดี ไม่ควรปลูกในพื้นที่ที่มีน้ำท่วมขัง หรือใกล้ทางระบายน้ำ หากดินระบายน้ำไม่ดีควรปลูกแบบยกร่อง และทำความสะอาดแปลงก่อนการปลูก ทำลายหัวมันเน่าที่เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคและคิดเลือกท่อนพันธุ์ที่มีความสมบูรณ์ปราศจากโรคมาปลูก (อุดมศักดิ์, 2555)<ref>อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>
เริ่มจากการเตรียมแปลงปลูกให้มีการระบายน้ำได้ดี ไม่ควรปลูกในพื้นที่ที่มีน้ำท่วมขัง หรือใกล้ทางระบายน้ำ หากดินระบายน้ำไม่ดีควรปลูกแบบยกร่อง และทำความสะอาดแปลงก่อนการปลูก ทำลายหัวมันเน่าที่เป็นแหล่งเพาะเชื้อโรคและคิดเลือกท่อนพันธุ์ที่มีความสมบูรณ์ปราศจากโรคมาปลูก (อุดมศักดิ์, 2555)<ref>อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>


== '''โรครากปมมันสำปะหลัง (cassava Root-knot)''' ==
เชื้อสาเหตุเกิดจากไส้เดือนฝอยรากปม ''Meloidogyne incognita''
เชื้อสาเหตุเกิดจากไส้เดือนฝอยรากปม ''Meloidogyne incognita''


== '''โรครากปมมันสำปะหลัง (cassava Root-knot)''' ==
=== ลักษณะอาการ ===
 
== ลักษณะอาการ ==
เมื่อไส้เดือนฝอยเข้าทำลายส่วนของรากมันสำปะหลังจะแสดงอาการเป็นปุ่มปม และจะไม่ทำการสะสมอาหาร ในกรณีที่ถูกไส้เดือนฝอยเข้าทำลายรุนแรงจะพบอาการเหี่ยวเฉาที่ใบและกิ่งแห้ง หรือลำต้นเหี่ยว และอาจทำให้ยืนต้นตายได้ โดยสามารถส่งผลกระทบต่อผลผลิตได้ตั้งแต่ 70% ขึ้นไปในพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดรุนแรง  (สำนักงานวิจัยพัฒนาอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>
เมื่อไส้เดือนฝอยเข้าทำลายส่วนของรากมันสำปะหลังจะแสดงอาการเป็นปุ่มปม และจะไม่ทำการสะสมอาหาร ในกรณีที่ถูกไส้เดือนฝอยเข้าทำลายรุนแรงจะพบอาการเหี่ยวเฉาที่ใบและกิ่งแห้ง หรือลำต้นเหี่ยว และอาจทำให้ยืนต้นตายได้ โดยสามารถส่งผลกระทบต่อผลผลิตได้ตั้งแต่ 70% ขึ้นไปในพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาดรุนแรง  (สำนักงานวิจัยพัฒนาอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>


== การแพร่ระบาด ==
=== การแพร่ระบาด ===
ไส้เดือนฝอยรากปมสามารถแพร่ระบาดได้ดีในพื้นที่เป็นดินร่วนปนทราย สามารถแพร่ระบาดไปได้กับระบบการให้น้ำ หรือไหลไปกับน้ำฝน รวมทั้งติดไปกับดิน หรือติดไปกับเครื่องมือการเกษตรต่างๆ เช่นล้อรถไถ จอบ และเครื่องมืออื่นๆ นอกจากนี้ยังสามารถติดไปกับรองเท้าของเกษตรกรได้เช่นกัน (นุชนารถ, 2016)<ref>นุชนารถ ตั้งจิตสมคิด.  2016.  โรครากปม. ที่มา: <nowiki>http://microorganism.expertdoa.com/disease_1_%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%9B%E0%B8%A1.php</nowiki>. กรรมวิชาการเกษตร. วันที่ 5 พฤษภาคม 2564</ref>
ไส้เดือนฝอยรากปมสามารถแพร่ระบาดได้ดีในพื้นที่เป็นดินร่วนปนทราย สามารถแพร่ระบาดไปได้กับระบบการให้น้ำ หรือไหลไปกับน้ำฝน รวมทั้งติดไปกับดิน หรือติดไปกับเครื่องมือการเกษตรต่างๆ เช่นล้อรถไถ จอบ และเครื่องมืออื่นๆ นอกจากนี้ยังสามารถติดไปกับรองเท้าของเกษตรกรได้เช่นกัน (นุชนารถ, 2016)<ref>นุชนารถ ตั้งจิตสมคิด.  2016.  โรครากปม. ที่มา: <nowiki>http://microorganism.expertdoa.com/disease_1_%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%9B%E0%B8%A1.php</nowiki>. กรรมวิชาการเกษตร. วันที่ 5 พฤษภาคม 2564</ref>


== การป้องกันกำจัด ==
=== การป้องกันกำจัด ===
ควรหลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังซ้ำในพื้นที่ที่เคยมีการระบาดของโรค ควรปลูกพืชแบบสลับ เช่น ปอเทือง เพื่อลดจำนวนประชากรไส้เดือนฝอยหรือหมั่นตรวจแปลงมันสำปะหลัง ในกรณีที่พบอาการเหี่ยวเฉาที่ใบและกิ่งแห้งทั้งต้น หรือใช้พันธุ์ต้านทาน ระยอง 72 (สำนักงานวิจัยพัฒนาอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>
ควรหลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังซ้ำในพื้นที่ที่เคยมีการระบาดของโรค ควรปลูกพืชแบบสลับ เช่น ปอเทือง เพื่อลดจำนวนประชากรไส้เดือนฝอยหรือหมั่นตรวจแปลงมันสำปะหลัง ในกรณีที่พบอาการเหี่ยวเฉาที่ใบและกิ่งแห้งทั้งต้น หรือใช้พันธุ์ต้านทาน ระยอง 72 (สำนักงานวิจัยพัฒนาอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>
== '''โรคลำต้นไหม้ (stem blight disease)''' ==
[[หมวดหมู่:โรค]]
[[หมวดหมู่:โรค]]
เชื้อสาเหตุเกิดจากเชื้อรา ''Phoma eupyrena'' มีการเริ่มระบาดในปี 2557 ในหลายพื้นที่ของจังหวัดกำแพงเพชร นครสวรรค์ ระยอง สระแก้ว สระบุรี นครราชสีมา กาฬสินธุ์ และอุบลราชธานี ส่งผลให้เกษตรกรเกิดการขาดแคลนท่อนพันธุ์  เนื่องจากโรคดังกล่าวมีการแพร่ระบาดไปกับท่อนพันธุ์ได้ ทำให้มันสำปะหลังแห้งตายตั้งแต่ระยะ 1 – 2 เดือน
เชื้อสาเหตุเกิดจากเชื้อรา ''Phoma eupyrena'' มีการเริ่มระบาดในปี 2557 ในหลายพื้นที่ของจังหวัดกำแพงเพชร นครสวรรค์ ระยอง สระแก้ว สระบุรี นครราชสีมา กาฬสินธุ์ และอุบลราชธานี ส่งผลให้เกษตรกรเกิดการขาดแคลนท่อนพันธุ์  เนื่องจากโรคดังกล่าวมีการแพร่ระบาดไปกับท่อนพันธุ์ได้ ทำให้มันสำปะหลังแห้งตายตั้งแต่ระยะ 1 – 2 เดือน


== ลักษณะอาการ ==
=== ลักษณะอาการ ===
[[ไฟล์:Image9.png|thumb|ลักษณะอาการของโรคลำต้นไหม้บริเวณลำต้นของมันสำปะหลัง]]
[[ไฟล์:Image9.png|thumb|ลักษณะอาการของโรคลำต้นไหม้บริเวณลำต้นของมันสำปะหลัง]]
เชื้อรามีการเข้าทำลายตรงรอยตัดส่วนบนของท่อนพันธุ์ ทำให้ยอดด้านบนแห้งตาย และเชื้อลามลงมาสู่โคนต้น บริเวณเปลือกลำต้นจะมีรอยปริแตก เป็นกลุ่มสปอร์เป็นเม็ดกลมสีดำปรากฏอยู่จำนวนมาก เมื่อยอดถูกทำลายจะทำให้มันสำปะหลังแตกตาข้างมากกว่าปกติ หากอาการรุนแรงต้นกล้าจะแสดงอาการใบเหลือง แห้ง ร่วง และยืนต้นตายในที่สุด
เชื้อรามีการเข้าทำลายตรงรอยตัดส่วนบนของท่อนพันธุ์ ทำให้ยอดด้านบนแห้งตาย และเชื้อลามลงมาสู่โคนต้น บริเวณเปลือกลำต้นจะมีรอยปริแตก เป็นกลุ่มสปอร์เป็นเม็ดกลมสีดำปรากฏอยู่จำนวนมาก เมื่อยอดถูกทำลายจะทำให้มันสำปะหลังแตกตาข้างมากกว่าปกติ หากอาการรุนแรงต้นกล้าจะแสดงอาการใบเหลือง แห้ง ร่วง และยืนต้นตายในที่สุด


== การแพร่ระบาด ==
=== การแพร่ระบาด ===
โรคนี้มีการแพร่ระบาดไปกับท่อนพันธุ์
โรคนี้มีการแพร่ระบาดไปกับท่อนพันธุ์


== การป้องกันกำจัด ==
=== การป้องกันกำจัด ===
ใช้ท่อนพันธุ์ที่สมบูรณ์และปลอดโรค หลีกเลี่ยงท่อนพันธุ์ที่อ่อนเกินไป ก่อนปลูกควรแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อรานาน 15 – 20 นาที โดยเลือกใช้สารเคมีดังนี้
ใช้ท่อนพันธุ์ที่สมบูรณ์และปลอดโรค หลีกเลี่ยงท่อนพันธุ์ที่อ่อนเกินไป ก่อนปลูกควรแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อรานาน 15 – 20 นาที โดยเลือกใช้สารเคมีดังนี้


บรรทัดที่ 132: บรรทัดที่ 123:
|10 ซีซี
|10 ซีซี
|}
|}
[[หมวดหมู่:โรค]]
หากไม่ทำการแช่ท่อนพันธุ์ และพบว่ามีการแพร่ระบาดรุนแรงในระยะ 1-2 เดือนหลังปลูก ควรพ่นสารกำจัดโรคดังตารางที่ 1 ให้ทั่วทั้งต้น (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>
หากไม่ทำการแช่ท่อนพันธุ์ และพบว่ามีการแพร่ระบาดรุนแรงในระยะ 1-2 เดือนหลังปลูก ควรพ่นสารกำจัดโรคดังตารางที่ 1 ให้ทั่วทั้งต้น (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>
[[หมวดหมู่:โรค]]


== '''โรคพุ่มแจ้ (witches broom)''' ==
เชื้อสาเหตุเกิดจากเชื้อ ไฟโตพลาสมา (''Phytoplasma'') พบการระบาดครั้งแรกในไป พ.ศ. 2557 ที่จังหวัดระยอง ต่อมาพบการระบากในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังภาคตะวันออก และบางอำเภอในจังหวัดกำแพงเพชร และนครราชสีมา
เชื้อสาเหตุเกิดจากเชื้อ ไฟโตพลาสมา (''Phytoplasma'') พบการระบาดครั้งแรกในไป พ.ศ. 2557 ที่จังหวัดระยอง ต่อมาพบการระบากในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังภาคตะวันออก และบางอำเภอในจังหวัดกำแพงเพชร และนครราชสีมา


== ลักษณะอาการ ==
=== ลักษณะอาการ ===
[[ไฟล์:Image10.png|thumb|ลักษณะอาการแตกยอดมีลักษณะเป็นพุ่มของโรคแตกพุ่มแจ้ของมันสำปะหลัง]]
[[ไฟล์:Image10.png|thumb|ลักษณะอาการแตกยอดมีลักษณะเป็นพุ่มของโรคแตกพุ่มแจ้ของมันสำปะหลัง]]
บริเวณยอกจะมีการแตกยอดมากกว่าปกติ ข้อปล้องสั้น และใบมีขนาดเล็กลง สังเกตได้จากยอดมีลักษณะเป็นพุ่ม เมื่อทำการลอกเปลือกออกดูจะพบใต้เปลือกมีเส้นสีดำเป็นแนวยาว ส่งผลให้แสดงอาการยอดเป็นพุ่ม ใบเหลือง และยืนต้นตายในที่สุด  ในระยะมันสำปะหลังอายุ 4-5 เดือน พบต้นมีลักษณะแคระแกรนแตกยอดเป็นพุ่มฝอย ในระยะเก็บเกี่ยวเชื้อลามลงหัว ทำให้หัวมีเส้นสีดำตามแนวยาวอยู่ใต้เปลือก คุณภาพผลผลิตเสียหาย และเปอร์เซ็นต์แป้งต่ำ
บริเวณยอกจะมีการแตกยอดมากกว่าปกติ ข้อปล้องสั้น และใบมีขนาดเล็กลง สังเกตได้จากยอดมีลักษณะเป็นพุ่ม เมื่อทำการลอกเปลือกออกดูจะพบใต้เปลือกมีเส้นสีดำเป็นแนวยาว ส่งผลให้แสดงอาการยอดเป็นพุ่ม ใบเหลือง และยืนต้นตายในที่สุด  ในระยะมันสำปะหลังอายุ 4-5 เดือน พบต้นมีลักษณะแคระแกรนแตกยอดเป็นพุ่มฝอย ในระยะเก็บเกี่ยวเชื้อลามลงหัว ทำให้หัวมีเส้นสีดำตามแนวยาวอยู่ใต้เปลือก คุณภาพผลผลิตเสียหาย และเปอร์เซ็นต์แป้งต่ำ


== การแพร่ระบาด ==
=== การแพร่ระบาด ===
เชื้อสามารถแพร่ระบาดไปได้กับท่อนพันธุ์ และมีแมลงพาหะเป็นเพลี้ยจักจั่นสีน้ำตาล  
เชื้อสามารถแพร่ระบาดไปได้กับท่อนพันธุ์ และมีแมลงพาหะเป็นเพลี้ยจักจั่นสีน้ำตาล  


== การป้องกันกำจัด ==
=== การป้องกันกำจัด ===
ใช้ท่อนพันธุ์ปลอดโรค โดยเลือกจากแหลงที่ไม่มีการแพร่ระบาด เมื่อปลูกในระยะ 1 เดือนหากพบต้นที่แตกยอดเป็นพุ่มผิดปกติให้ทำการถอนทิ้งทันที ในระยะ 4 เดือนหลังปลูก หากพบต้นที่แตกพุ่ม ให้หักกิ่งต่ำลงจากยอดพุ่มประมาณ 30 เซนติเมตร ทิ้งและพ่นสารกำจัดแมลงให้ทั่วแปลง เนื่องจากโรคนี้สามารถถ่ายทอดได้โดยแมลงพาหะ จากนั้นทำการกำจัดวัชพืชทั้งในและโดยรอบแปลง โดยเฉพาะสาบม่วง ที่เป็นแหล่งอาศัยของโรค และทำการบำรุงรักษาต้นมันสำปะหลัง โดยการให้น้ำ ปุ๋ย และปรุบปรุงดินอย่างเหมาะสม เพื่อให้ต้นแข็งแรง (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>ลักษณะอาการของโรคลำต้นไหม้บริเวณลำต้นของมันสำปะหลัง</ref>
ใช้ท่อนพันธุ์ปลอดโรค โดยเลือกจากแหลงที่ไม่มีการแพร่ระบาด เมื่อปลูกในระยะ 1 เดือนหากพบต้นที่แตกยอดเป็นพุ่มผิดปกติให้ทำการถอนทิ้งทันที ในระยะ 4 เดือนหลังปลูก หากพบต้นที่แตกพุ่ม ให้หักกิ่งต่ำลงจากยอดพุ่มประมาณ 30 เซนติเมตร ทิ้งและพ่นสารกำจัดแมลงให้ทั่วแปลง เนื่องจากโรคนี้สามารถถ่ายทอดได้โดยแมลงพาหะ จากนั้นทำการกำจัดวัชพืชทั้งในและโดยรอบแปลง โดยเฉพาะสาบม่วง ที่เป็นแหล่งอาศัยของโรค และทำการบำรุงรักษาต้นมันสำปะหลัง โดยการให้น้ำ ปุ๋ย และปรุบปรุงดินอย่างเหมาะสม เพื่อให้ต้นแข็งแรง (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>ลักษณะอาการของโรคลำต้นไหม้บริเวณลำต้นของมันสำปะหลัง</ref>
== '''โรคเน่าเปียก (Wet rot)''' ==
[[หมวดหมู่:โรค]]
[[หมวดหมู่:โรค]]


บรรทัดที่ 152: บรรทัดที่ 146:
เชื้อสาเหตุเกิดจาก เชื้อรา ''Choanephora'' sp.  
เชื้อสาเหตุเกิดจาก เชื้อรา ''Choanephora'' sp.  


== ลักษณะอาการ ==
=== ลักษณะอาการ ===
เชื้อราเข้าทำลายส่วนของปลายยอด ขอบใบ หรือส่วนที่เป็นแผลเนื้อเยื่อยุบตัวลง จะสังเกตเห็นเส้นใยสีเทา ก้านชูสปอร์และมีสปอร์สีดำ ระบาดมากในฤดูฝนโดยเฉพาะ หากมีอากาศร้อนจัดแล้วฝนตกจะพบอาการลุกลามอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังพบว่าเชื้อสาเหตุมักเข้าทำลายซ้ำเติมร่วมกับโรคใบไหม้ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย โดยพบเชื้อราเจริญอยู่บนใบที่มีอาการไหม้
เชื้อราเข้าทำลายส่วนของปลายยอด ขอบใบ หรือส่วนที่เป็นแผลเนื้อเยื่อยุบตัวลง จะสังเกตเห็นเส้นใยสีเทา ก้านชูสปอร์และมีสปอร์สีดำ ระบาดมากในฤดูฝนโดยเฉพาะ หากมีอากาศร้อนจัดแล้วฝนตกจะพบอาการลุกลามอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังพบว่าเชื้อสาเหตุมักเข้าทำลายซ้ำเติมร่วมกับโรคใบไหม้ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย โดยพบเชื้อราเจริญอยู่บนใบที่มีอาการไหม้


== การแพร่ระบาด ==
=== การแพร่ระบาด ===
พบการแพร่ระบาดด้วยวิธีการสร้างสปอร์สามารถปลิวไปกับลมและฝนได้
พบการแพร่ระบาดด้วยวิธีการสร้างสปอร์สามารถปลิวไปกับลมและฝนได้


== การป้องกันกำจัด ==
=== การป้องกันกำจัด ===
ฉีดพ่นสารป้องกันกำจัดเชื้อราในกลุ่ม Zygomycota หรือในกลุ่มราชั้นต่ำ เช่น ไทอะเบนดาโซล (thiabendazole) แมนโคแซบ (mancozeb) (อุดมศักดิ์, 2555)<ref>อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>
ฉีดพ่นสารป้องกันกำจัดเชื้อราในกลุ่ม Zygomycota หรือในกลุ่มราชั้นต่ำ เช่น ไทอะเบนดาโซล (thiabendazole) แมนโคแซบ (mancozeb) (อุดมศักดิ์, 2555)<ref>อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>
[[หมวดหมู่:โรค]]
[[หมวดหมู่:โรค]]
134

การแก้ไข