ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจัดการน้ำในแปลงปลูก"

บรรทัดที่ 22: บรรทัดที่ 22:
เป็นการให้น้ำในแปลงปลูกพืชที่มีพื้นที่มีความลาดเทมากและไม่สามารถปรับพื้นที่ให้มีความสม่ำเสมอ ซึ่งมีหลายรูปแบบ เช่น การให้น้ำระบบฝนโปรย (sprinkler) หรือรูปแบบน้ำหยด เป็นต้น  
เป็นการให้น้ำในแปลงปลูกพืชที่มีพื้นที่มีความลาดเทมากและไม่สามารถปรับพื้นที่ให้มีความสม่ำเสมอ ซึ่งมีหลายรูปแบบ เช่น การให้น้ำระบบฝนโปรย (sprinkler) หรือรูปแบบน้ำหยด เป็นต้น  


# '''การให้น้ำระบบฝนโปรย (sprinkler)''' เป็นการใช้ปั้มน้ำส่งน้ำผ่านท่อไปยังหัวสปริงเกอร์เพื่อฉีดพ่นขึ้นสู่อากาศ เหมาะสำหรับพื้นที่ที่พื้นที่มีความลาดเทมากและไม่สามารถปรับพื้นที่ให้มีความสม่ำเสมอได้ วิธีนี้จะทำให้น้ำกระจายสม่ำเสมอและเป็นไปอย่างช้า ๆ และใช้ได้กับทุกอัตราการซึมน้ำจากผิวดิน มีประสิทธิภาพการใช้น้ำ 70-85 เปอร์เซ็นต์ ช่วยลดการไหลบ่าของน้ำที่ชะล้างหน้าดิน แต่การให้น้ำวิธีนี้ไม่เหมาะสมกับพื้นที่ที่มีลมแรงมาก เพราะลมจะพัดพาละอองน้ำบางส่วนออกไปจากพื้นที่ที่จะให้น้ำ  
# '''การให้น้ำระบบฝนโปรย (sprinkler)''' เป็นการใช้ปั้มน้ำส่งน้ำผ่านท่อไปยังหัวสปริงเกอร์เพื่อฉีดพ่นขึ้นสู่อากาศ เหมาะสำหรับพื้นที่ที่พื้นที่มีความลาดเทมากและไม่สามารถปรับพื้นที่ให้มีความสม่ำเสมอได้ วิธีนี้จะทำให้น้ำกระจายสม่ำเสมอและเป็นไปอย่างช้า ๆ และใช้ได้กับทุกอัตราการซึมน้ำจากผิวดิน มีประสิทธิภาพการใช้น้ำ 70-85 เปอร์เซ็นต์ ช่วยลดการไหลบ่าของน้ำที่ชะล้างหน้าดิน แต่การให้น้ำวิธีนี้ไม่เหมาะสมกับพื้นที่ที่มีลมแรงมาก เพราะลมจะพัดพาละอองน้ำบางส่วนออกไปจากพื้นที่ที่จะให้น้ำ
# '''การให้น้ำรูปบน้ำหยด (Drip หรือ Trickle)''' เป็นการใช้ปั้มน้ำส่งน้ำผ่านท่อไปยังหัวน้ำหยดซึ่งน้ำจะหยดลงดิน ทำให้ดินบางส่วนภายใต้รัศมีทรงพุ่มของพืชได้รับน้ำ ซึ่งเหมาะสำหรับให้น้ำในแปลงมันสำปะหลังที่ปลูกในฤดูแล้งปลายฝน<ref name=":0" /> เป็นวิธีที่ประหยัดแรงงานในการให้น้ำ สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีพร้อม ๆ กับการให้น้ำได้ ลดปัญหาของโรคที่เกี่ยวเนื่องกับความเปียกชื้นและปัญหาวัชพืชในแปลง รวมทั้งมีประสิทธิภาพการใช้น้ำ 95-100 เปอร์เซ็นต์<ref>มนตรี ค้ำชู. (2538). ระบบให้น้ำในการเกษตรแบบทันสมัย. ''เมืองเกษตร'', 7(82), 75-77.</ref> นอกจากนี้ ข้อดีของการให้น้ำแบบหยด คือ ให้น้ำปริมาณน้อย ให้ได้บ่อยครั้ง ซึ่งเป็นการช่วยประหยัดน้ำและช่วยรักษาความชื้นในดินให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช  
# '''การให้น้ำรูปบน้ำหยด (Drip หรือ Trickle)''' เป็นการใช้ปั้มน้ำส่งน้ำผ่านท่อไปยังหัวน้ำหยดซึ่งน้ำจะหยดลงดิน ทำให้ดินบางส่วนภายใต้รัศมีทรงพุ่มของพืชได้รับน้ำ ซึ่งเหมาะสำหรับให้น้ำในแปลงมันสำปะหลังที่ปลูกในฤดูแล้งปลายฝน<ref name=":0" /> เป็นวิธีที่ประหยัดแรงงานในการให้น้ำ สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีพร้อม ๆ กับการให้น้ำได้ ลดปัญหาของโรคที่เกี่ยวเนื่องกับความเปียกชื้นและปัญหาวัชพืชในแปลง รวมทั้งมีประสิทธิภาพการใช้น้ำ 95-100 เปอร์เซ็นต์<ref>มนตรี ค้ำชู. (2538). ระบบให้น้ำในการเกษตรแบบทันสมัย. ''เมืองเกษตร'', 7(82), 75-77.</ref> นอกจากนี้ ข้อดีของการให้น้ำแบบหยด คือ ให้น้ำปริมาณน้อย ให้ได้บ่อยครั้ง ซึ่งเป็นการช่วยประหยัดน้ำและช่วยรักษาความชื้นในดินให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช
 
[[ไฟล์:K.chatchaisiri.jpg|thumb|'''ภาพ แสดงการให้น้ำแบบน้ำหยดในมันสำปะหลัง''']]


==== '''การให้น้ำทางผิวดิน (surface)''' ====
==== '''การให้น้ำทางผิวดิน (surface)''' ====
เป็นรูปแบบการให้น้ำที่ขังไว้ หรือปล่อยไหลไปตามผิวดิน และซึมลงไปในดินตรงจุดที่น้ำนั้นขัง หรือตรงบริเวณที่น้ำไหลผ่าน การให้น้ำรูปแบบนี้มีประสิทธิภาพ 60-80 เปอร์เซ็นต์ (พงษ์ศักดิ์, 2548) ซึ่งการให้น้ำผิวดินแบ่งได้ 2 ลักษณะด้วยกันคือ  
เป็นรูปแบบการให้น้ำที่ขังไว้ หรือปล่อยไหลไปตามผิวดิน และซึมลงไปในดินตรงจุดที่น้ำนั้นขัง หรือตรงบริเวณที่น้ำไหลผ่าน การให้น้ำรูปแบบนี้มีประสิทธิภาพ 60-80 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งการให้น้ำผิวดินแบ่งได้ 2 ลักษณะด้วยกันคือ  


# '''การให้น้ำท่วมผิวดินเป็นผืนใหญ่ (Flooding)''' เหมาะสำหรับพืชปลูกชิดกันโดยไม่ต้องการการไถพรวนหรือพืชที่ปลูกโดยการหว่านเมล็ด เช่น ข้าว ส่วนมันสำปะหลังไม่เหมาะกับการให้น้ำรูปแบบนี้เนื่องจากช่วงแรกของการปลูกกระแสของน้ำอาจพัดพาท่อนพันธุ์ออกจากบริเวณที่ปลูกได้ สามารถทำได้ในดินเกือบทุกชนิดที่ไม่สูงหรือไม่ต่ำเกินไป มีความลาดเทของพื้นที่ไม่เกิน 0.5% ในพืชทั่วไปและพื้นที่ลาดเทไม่เกิน 4% ในพืชลำต้นเตี้ยใกล้ดิน แต่ไม่ควรใช้วิธีนี้สำหรับพืชต้นเล็ก ซึ่งระยะสะสมอาหารที่หัวอายุ อาจจะได้รับความเสียหายระยะสะสมอาหารที่หัวอายุ ในขณะให้น้ำ และไม่เหมาะสมกับดินทรายเพราะว่าจะทำให้สูญเสียน้ำเนื่องจากการซึมในเขตรากพืชมาก นอกจากนี้ดินบางชนิดอาจแตกระแหงหลังจากการท่วมน้ำบนผิวดินแล้ว (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
# '''การให้น้ำท่วมผิวดินเป็นผืนใหญ่ (Flooding)''' เหมาะสำหรับพืชปลูกชิดกันโดยไม่ต้องการการไถพรวนหรือพืชที่ปลูกโดยการหว่านเมล็ด เช่น ข้าว ส่วนมันสำปะหลังไม่เหมาะกับการให้น้ำรูปแบบนี้เนื่องจากช่วงแรกของการปลูกกระแสของน้ำอาจพัดพาท่อนพันธุ์ออกจากบริเวณที่ปลูกได้ สามารถทำได้ในดินเกือบทุกชนิดที่ไม่สูงหรือไม่ต่ำเกินไป มีความลาดเทของพื้นที่ไม่เกิน 0.5% ในพืชทั่วไปและพื้นที่ลาดเทไม่เกิน 4% ในพืชลำต้นเตี้ยใกล้ดิน แต่ไม่ควรใช้วิธีนี้สำหรับพืชต้นเล็ก ซึ่งระยะสะสมอาหารที่หัวอายุ อาจจะได้รับความเสียหายระยะสะสมอาหารที่หัวอายุ ในขณะให้น้ำ และไม่เหมาะสมกับดินทรายเพราะว่าจะทำให้สูญเสียน้ำเนื่องจากการซึมในเขตรากพืชมาก นอกจากนี้ดินบางชนิดอาจแตกระแหงหลังจากการท่วมน้ำบนผิวดินแล้ว<ref name=":1">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref>
# '''การให้น้ำตามร่อง (Contour Furrow)''' เหมาะสำหรับการปลูกพืชที่มีระยะห่าง มีการไถยกร่องและปลูกส่วนขยายพันธุ์ของพืชบนสันร่องเป็นแถว เช่น มันสำปะหลัง พื้นที่ปลูกควรมีความลาดเท 1 - 8% จะช่วยให้พืชได้รับน้ำอย่างสม่ำเสมอ ข้อควรระวังคือ ร่องปลูกจะต้องไม่ยาวมากและมีการป้องกันร่องระบายน้ำอย่างดีเพื่อให้ระบายน้ำที่เหลือออกได้โดยไม่เกิดการกัดเซาะที่รุนแรง นอกจากนี้การใช้เครื่องจักรกลและอุปกรณ์การเกษตรในพื้นที่ปลูกอาจทำได้ลำบาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
# '''การให้น้ำตามร่อง (Contour Furrow)''' เหมาะสำหรับการปลูกพืชที่มีระยะห่าง มีการไถยกร่องและปลูกส่วนขยายพันธุ์ของพืชบนสันร่องเป็นแถว เช่น มันสำปะหลัง พื้นที่ปลูกควรมีความลาดเท 1 - 8% จะช่วยให้พืชได้รับน้ำอย่างสม่ำเสมอ ข้อควรระวังคือ ร่องปลูกจะต้องไม่ยาวมากและมีการป้องกันร่องระบายน้ำอย่างดีเพื่อให้ระบายน้ำที่เหลือออกได้โดยไม่เกิดการกัดเซาะที่รุนแรง นอกจากนี้การใช้เครื่องจักรกลและอุปกรณ์การเกษตรในพื้นที่ปลูกอาจทำได้ลำบาก<ref name=":1" />


==== '''การให้น้ำใต้ดิน (Subirrigation)''' ====
==== '''การให้น้ำใต้ดิน (Subirrigation)''' ====
เป็นการให้น้ำโดยการยกระดับน้ำใต้ดินให้ขึ้นมาอยู่ในระดับที่น้ำจะไหลซึมขึ้นมาสู่เขตรากพืชได้ จะทำให้น้ำบริเวณเขตรากพืชเกิดการเคลื่อนที่โดยแรงดึงดูดของช่องว่างภายในอนุภาคดิน จากที่ที่มีความชื้นไปยังบริเวณที่แห้ง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) สามารถทำได้ 2 รูปแบบ คือ การให้น้ำในคูและการฝั่งท่อน้ำไว้ใต้ดิน โดยความลึกของระดับน้ำใต้ดินขณะให้น้ำจะอยู่ระหว่าง 30-60 ซม. การให้น้ำรูปแบบนี้มีประสิทธิภาพ 30-50 เปอร์เซ็นต์ เหมาะสมที่จะใช้กับดินที่มีเนื้อดินชนิดเดียวกัน แต่จำกัดใช้ได้กับพืชเพียงบางชนิดที่มีรากลึก หากพืชยืนต้นไม่เหมาะที่จะให้น้ำรูปแบบนี้ <ref>วิบูลย์ บุญยธโรกุล. (2526). ''หลักการชลประทาน''. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน.</ref>
เป็นการให้น้ำโดยการยกระดับน้ำใต้ดินให้ขึ้นมาอยู่ในระดับที่น้ำจะไหลซึมขึ้นมาสู่เขตรากพืชได้ จะทำให้น้ำบริเวณเขตรากพืชเกิดการเคลื่อนที่โดยแรงดึงดูดของช่องว่างภายในอนุภาคดิน จากที่ที่มีความชื้นไปยังบริเวณที่แห้ง<ref name=":1" /> สามารถทำได้ 2 รูปแบบ คือ การให้น้ำในคูและการฝั่งท่อน้ำไว้ใต้ดิน โดยความลึกของระดับน้ำใต้ดินขณะให้น้ำจะอยู่ระหว่าง 30-60 ซม. การให้น้ำรูปแบบนี้มีประสิทธิภาพ 30-50 เปอร์เซ็นต์ เหมาะสมที่จะใช้กับดินที่มีเนื้อดินชนิดเดียวกัน แต่จำกัดใช้ได้กับพืชเพียงบางชนิดที่มีรากลึก หากพืชยืนต้นไม่เหมาะที่จะให้น้ำรูปแบบนี้ <ref>วิบูลย์ บุญยธโรกุล. (2526). ''หลักการชลประทาน''. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมชลประทาน.</ref>
<references />
100

การแก้ไข