ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดิน"

บรรทัดที่ 3: บรรทัดที่ 3:
== '''หลักการพิจารณาการใส่ปุ๋ยมันสำปะหลัง''' ==
== '''หลักการพิจารณาการใส่ปุ๋ยมันสำปะหลัง''' ==


=== 1. ชนิดปุ๋ย ===
=== ชนิดปุ๋ย ===
โดยทั่วไปมันสำปะหลังต้องการธาตุปุ๋ยทั้ง 3 ชนิด ซึ่งได้แก่  
โดยทั่วไปมันสำปะหลังต้องการธาตุปุ๋ยทั้ง 3 ชนิด ซึ่งได้แก่  


บรรทัดที่ 40: บรรทัดที่ 40:
* ปุ๋ยสูตร 15-7-18 หรือ 16-8-16 (เรโช 2:1:2 หรือ 2:1:3 หรือ 3:1:2) ขึ้นอยู่กับราคาต่อหน่วยของเนื้อปุ๋ย ใช้กับดินทั่วไปที่มีปริมาณธาตุปุ๋ยต่ำ หรือดินที่มีการปลูกมันสำปะหลังอย่างต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน เหมาะสำหรับดินทราย ดินร่วนทราย ดินร่วนเหนียว ฯลฯ ปุ๋ยสูตร 15-15-15 แนะนำให้ใช้ในดินเหนียวปนกรวด เพราะมีสมบัติตรึงธาตุฟอสฟอรัส (P-fixation) สูง ทำให้ดึงธาตุฟอสฟอรัสไว้กับดิน พืชดึงไปใช้ได้ยาก จึงต้องใส่ธาตุฟอสฟอรัสมาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* ปุ๋ยสูตร 15-7-18 หรือ 16-8-16 (เรโช 2:1:2 หรือ 2:1:3 หรือ 3:1:2) ขึ้นอยู่กับราคาต่อหน่วยของเนื้อปุ๋ย ใช้กับดินทั่วไปที่มีปริมาณธาตุปุ๋ยต่ำ หรือดินที่มีการปลูกมันสำปะหลังอย่างต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน เหมาะสำหรับดินทราย ดินร่วนทราย ดินร่วนเหนียว ฯลฯ ปุ๋ยสูตร 15-15-15 แนะนำให้ใช้ในดินเหนียวปนกรวด เพราะมีสมบัติตรึงธาตุฟอสฟอรัส (P-fixation) สูง ทำให้ดึงธาตุฟอสฟอรัสไว้กับดิน พืชดึงไปใช้ได้ยาก จึงต้องใส่ธาตุฟอสฟอรัสมาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== 2. อัตราปุ๋ย ===
=== อัตราปุ๋ย ===
อัตราปุ๋ยที่แนะนำโดยทั่วไปจะขึ้นอยู่กับสมบัติดิน และพันธุ์มันสำปะหลัง พันธุ์ที่ตอบสนองต่อปุ๋ยในอัตราสูงได้ดี ได้แก่ พันธุ์ห้วยบง 80  ระยอง 5  ระยอง 7 ระยอง 9 และระยอง 11 อัตราที่แนะนำส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่าง 30-100 กิโลกรัมต่อไร่ หากเป็นการใส่ในอัตราสูงเช่น 100 กิโลกรัมต่อไร่ ควรมีการแบ่งใส่เพื่อลดความเสี่ยงในการสูญเสียปุ๋ยโดยการชะละลายออกจากเขตรากมันสำปะหลังเมื่อมีฝนตกหนัก โดยปกติหากมีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมด้วย ในอัตรา 1-2 ตันต่อไร่ ควรลดปริมาณปุ๋ยเคมีลงมาครึ่งหนึ่งของอัตราที่ใส่ปุ๋ยเคมีชนิดเดียว รายละเอียดอัตราปุ๋ยตามลักษณะดิน มีดังนี้
อัตราปุ๋ยที่แนะนำโดยทั่วไปจะขึ้นอยู่กับสมบัติดิน และพันธุ์มันสำปะหลัง พันธุ์ที่ตอบสนองต่อปุ๋ยในอัตราสูงได้ดี ได้แก่ พันธุ์ห้วยบง 80  ระยอง 5  ระยอง 7 ระยอง 9 และระยอง 11 อัตราที่แนะนำส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่าง 30-100 กิโลกรัมต่อไร่ หากเป็นการใส่ในอัตราสูงเช่น 100 กิโลกรัมต่อไร่ ควรมีการแบ่งใส่เพื่อลดความเสี่ยงในการสูญเสียปุ๋ยโดยการชะละลายออกจากเขตรากมันสำปะหลังเมื่อมีฝนตกหนัก โดยปกติหากมีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมด้วย ในอัตรา 1-2 ตันต่อไร่ ควรลดปริมาณปุ๋ยเคมีลงมาครึ่งหนึ่งของอัตราที่ใส่ปุ๋ยเคมีชนิดเดียว รายละเอียดอัตราปุ๋ยตามลักษณะดิน มีดังนี้


บรรทัดที่ 47: บรรทัดที่ 47:
* ดินทราย ดินร่วน ดินร่วนปนทราย และดินทรายปนดินร่วน ใส่ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่ แบ่งใส่ 2 ครั้ง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* ดินทราย ดินร่วน ดินร่วนปนทราย และดินทรายปนดินร่วน ใส่ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่ แบ่งใส่ 2 ครั้ง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== 3. รูปแบบของปุ๋ยและวิธีการที่ใช้ ===
=== รูปแบบของปุ๋ยและวิธีการที่ใช้ ===
การใส่ปุ๋ยมันสำปะหลังมีระยะเวลาการใส่ดังนี้
การใส่ปุ๋ยมันสำปะหลังมีระยะเวลาการใส่ดังนี้


บรรทัดที่ 55: บรรทัดที่ 55:
         ข้อควรระวังในการใส่ปุ๋ยคือ จะต้องมีการกำจัดวัชพืชก่อนการใส่ปุ๋ยเสมอเพื่อไม่ให้วัชพืชแก่งแย่งปุ๋ยที่ใส่ลงไปจากมันสำปะหลัง ซึ่งจะเป็นสาเหตุให้เกิดการระบาดของวัชพืช (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
         ข้อควรระวังในการใส่ปุ๋ยคือ จะต้องมีการกำจัดวัชพืชก่อนการใส่ปุ๋ยเสมอเพื่อไม่ให้วัชพืชแก่งแย่งปุ๋ยที่ใส่ลงไปจากมันสำปะหลัง ซึ่งจะเป็นสาเหตุให้เกิดการระบาดของวัชพืช (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== 4. วิธีการใส่ปุ๋ย ===
=== วิธีการใส่ปุ๋ย ===
วิธีการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม ควรใส่ปุ๋ยตรงสันร่อง 2 ข้างลำต้นบริเวณขอบทรงพุ่ม (ขึ้นอยู่กับอายุพืชและขนาดของทรงพุ่ม) โดยการใช้จอบขุดเป็นหลุมขนาดเล็กลึกประมาณ 5-10 เซนติเมตร แล้วใช้ดินกลบ หากไม่กลบอาจทำให้เกิดการสูญเสียปุ๋ยมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์การใส่ปุ๋ยเคมีต้องดำเนินการในขณะที่ดินมีความชื้น และต้องกลบปุ๋ยด้วย การใส่ปุ๋ยรองพื้นมันสำปะหลังไม่ควรทำเพราะรากมันสำปะหลังยังมีปริมาณไม่มากพอที่จะดูดใช้ได้ทัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากมีฝนตกค่อนข้างมากหลังจากการเสียบท่อนพันธุ์ ส่วนการใส่ปุ๋ยด้านข้างร่องอาจจะเป็นการลดค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน โดยการโรยและไถกลบ แต่ไม่เหมาะสมกับมันสำปะหลังพันธุ์แนะนำที่มีระยะปลูกระหว่างต้นประมาณ 80-100 เซนติเมตร เพราะปลายรากพืชไม่สามารถดูดใช้ปุ๋ยได้ทั่วถึง และหากฝนตกแล้วมีการไหลของน้ำในร่องมันสำปะหลังก็จะทำให้เกิดการสูญเสีย สำหรับการหว่านปุ๋ยไม่แนะนำโดยสิ้นเชิงสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
วิธีการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม ควรใส่ปุ๋ยตรงสันร่อง 2 ข้างลำต้นบริเวณขอบทรงพุ่ม (ขึ้นอยู่กับอายุพืชและขนาดของทรงพุ่ม) โดยการใช้จอบขุดเป็นหลุมขนาดเล็กลึกประมาณ 5-10 เซนติเมตร แล้วใช้ดินกลบ หากไม่กลบอาจทำให้เกิดการสูญเสียปุ๋ยมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์การใส่ปุ๋ยเคมีต้องดำเนินการในขณะที่ดินมีความชื้น และต้องกลบปุ๋ยด้วย การใส่ปุ๋ยรองพื้นมันสำปะหลังไม่ควรทำเพราะรากมันสำปะหลังยังมีปริมาณไม่มากพอที่จะดูดใช้ได้ทัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากมีฝนตกค่อนข้างมากหลังจากการเสียบท่อนพันธุ์ ส่วนการใส่ปุ๋ยด้านข้างร่องอาจจะเป็นการลดค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน โดยการโรยและไถกลบ แต่ไม่เหมาะสมกับมันสำปะหลังพันธุ์แนะนำที่มีระยะปลูกระหว่างต้นประมาณ 80-100 เซนติเมตร เพราะปลายรากพืชไม่สามารถดูดใช้ปุ๋ยได้ทั่วถึง และหากฝนตกแล้วมีการไหลของน้ำในร่องมันสำปะหลังก็จะทำให้เกิดการสูญเสีย สำหรับการหว่านปุ๋ยไม่แนะนำโดยสิ้นเชิงสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


==== 4.1 วิธีการใช้ปุ๋ยแต่ละชนิดให้กับพืช ====
==== วิธีการใช้ปุ๋ยแต่ละชนิดให้กับพืช ====
มีด้วยกัน 2 ช่องทาง
มีด้วยกัน 2 ช่องทาง


บรรทัดที่ 64: บรรทัดที่ 64:
* การใส่ปุ๋ยน้ำทางใบ พืชสามารถดูดซับธาตุอาหารได้ทางราก เซลล์เนื้อเยื่อของลำต้น และทางใบ การใส่ปุ๋ยกับพืชทางใบเป็นการให้ธาตุอาหารแก่พืชที่เป็นอาหารแบบเร่งด่วนหรือลัดวงจร ดังนั้นปุ๋ยที่สามารถให้ทางใบหรือเซลล์เนื้อเยื่อได้จะต้องสามารถทำให้พืชดูดซับได้โดยง่าย เป็นระบบอะตอมขนาดเล็ก หรืออะตอมมิคนาโน ประโยชน์ของการให้ปุ๋ยทางใบช่วยลดการเสื่อมของดินได้อีกทางหนึ่ง ปุ๋ยน้ำทางใบมีทั้งแบบปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีสกัดเข้มข้น เป็นขบวนการผลิตปุ๋ยทางใบที่เป็นอะตอมมิคนาโน (แยกโมเลกุลของธาตุให้เป็นอะตอมเฉพาะธาตุ) เช่น น้ำ แยกโมเลกุลน้ำได้เป็น ไฮโรเยน และอ๊อกไซน์  
* การใส่ปุ๋ยน้ำทางใบ พืชสามารถดูดซับธาตุอาหารได้ทางราก เซลล์เนื้อเยื่อของลำต้น และทางใบ การใส่ปุ๋ยกับพืชทางใบเป็นการให้ธาตุอาหารแก่พืชที่เป็นอาหารแบบเร่งด่วนหรือลัดวงจร ดังนั้นปุ๋ยที่สามารถให้ทางใบหรือเซลล์เนื้อเยื่อได้จะต้องสามารถทำให้พืชดูดซับได้โดยง่าย เป็นระบบอะตอมขนาดเล็ก หรืออะตอมมิคนาโน ประโยชน์ของการให้ปุ๋ยทางใบช่วยลดการเสื่อมของดินได้อีกทางหนึ่ง ปุ๋ยน้ำทางใบมีทั้งแบบปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีสกัดเข้มข้น เป็นขบวนการผลิตปุ๋ยทางใบที่เป็นอะตอมมิคนาโน (แยกโมเลกุลของธาตุให้เป็นอะตอมเฉพาะธาตุ) เช่น น้ำ แยกโมเลกุลน้ำได้เป็น ไฮโรเยน และอ๊อกไซน์  


==== 4.2 เทคโนโลยีการให้ปุ๋ยในมันสำปะหลัง ====
==== เทคโนโลยีการให้ปุ๋ยในมันสำปะหลัง ====


* ถังหยอดปุ๋ยชนิดมอเตอร์ไฟฟ้า ใช้พ่วงกับแบตเตอรี่รถไถ มีสวิทปิดเปิด ใช้วางบนหางไถ มีเกลียวหมุน หยอดปุ๋ยลงร่องที่ปลูกมันสำปะหลังจากนั้นใบไถจะตามกลบปุ๋ย ทำให้ปุ๋ยอยู่ในร่องที่เป๋นแนวปลูกและอยู่ใต้ผิวดิน เป็นการประหยัดปุ๋ย และทำให้ปุ๋ยไม่ระเหิดจากการโดนแดดเผาจึงทำให้มันสำปะหลังได้รับปุ๋ยมากยิ่งขึ้น เกิดการสูญเสียน้อย เพราะปุ๋ยอยู่ใต้ผิวดิน
* ถังหยอดปุ๋ยชนิดมอเตอร์ไฟฟ้า ใช้พ่วงกับแบตเตอรี่รถไถ มีสวิทปิดเปิด ใช้วางบนหางไถ มีเกลียวหมุน หยอดปุ๋ยลงร่องที่ปลูกมันสำปะหลังจากนั้นใบไถจะตามกลบปุ๋ย ทำให้ปุ๋ยอยู่ในร่องที่เป๋นแนวปลูกและอยู่ใต้ผิวดิน เป็นการประหยัดปุ๋ย และทำให้ปุ๋ยไม่ระเหิดจากการโดนแดดเผาจึงทำให้มันสำปะหลังได้รับปุ๋ยมากยิ่งขึ้น เกิดการสูญเสียน้อย เพราะปุ๋ยอยู่ใต้ผิวดิน
บรรทัดที่ 70: บรรทัดที่ 70:
* ฉีดพ่นปุ๋ยน้ำทางใบโดยใช้แรงงานคนเดินพ่นตามร่องมันสำปะหลัง ช่วยให้มันสำปะหลังเจริญเติบโตได้เร็วคลุมหญ้าได้ไว มีใบกว้างสามารถสังเคราะห์แสงได้ดีขึ้น และวิธีการพ่นปุ๋ยโดยใช้โดรนฉีดพ่นตามพื้นที่ต่างๆในแปลงมันสำปะหลัง (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2554)
* ฉีดพ่นปุ๋ยน้ำทางใบโดยใช้แรงงานคนเดินพ่นตามร่องมันสำปะหลัง ช่วยให้มันสำปะหลังเจริญเติบโตได้เร็วคลุมหญ้าได้ไว มีใบกว้างสามารถสังเคราะห์แสงได้ดีขึ้น และวิธีการพ่นปุ๋ยโดยใช้โดรนฉีดพ่นตามพื้นที่ต่างๆในแปลงมันสำปะหลัง (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2554)


=== 5. วิธีการเลือกซื้อปุ๋ย ===
=== วิธีการเลือกซื้อปุ๋ย ===
การเลือกซื้อปุ๋ยให้ได้คุณภาพมีวิธีการเลือกซื้อดังนี้
การเลือกซื้อปุ๋ยให้ได้คุณภาพมีวิธีการเลือกซื้อดังนี้


บรรทัดที่ 87: บรรทัดที่ 87:
*ไม่หลงเชื่อโฆษณาตามอินเตอร์เน็ต หรือวิทยุได้ง่ายๆ
*ไม่หลงเชื่อโฆษณาตามอินเตอร์เน็ต หรือวิทยุได้ง่ายๆ


== การวิเคราะห์เนื้อดินอย่างง่าย ==
== '''การวิเคราะห์เนื้อดินอย่างง่าย''' ==


=== การวิเคราะห์เนื้อดินด้วยชุดตรวจสอบดิน ===
=== การวิเคราะห์เนื้อดินด้วยชุดตรวจสอบดิน ===
บรรทัดที่ 163: บรรทัดที่ 163:
<nowiki>*</nowiki> ถ้าไม่มีทั้ง“ตะกอน” และ “ฝ้าขาว” อ่านค่าได้ว่ามีปริมาณ โพแทสเซียมต่ำ (ทัศนีย์ และ ประทีป. 2558)
<nowiki>*</nowiki> ถ้าไม่มีทั้ง“ตะกอน” และ “ฝ้าขาว” อ่านค่าได้ว่ามีปริมาณ โพแทสเซียมต่ำ (ทัศนีย์ และ ประทีป. 2558)


== การใส่ปุ๋ยตามเนื้อดินจากการประเมินอย่างง่าย ==
== '''การใส่ปุ๋ยตามเนื้อดินจากการประเมินอย่างง่าย''' ==
ตารางการใส่ปุ๋ยตามเนื้อดินจากการประเมินอย่างง่าย
ตารางการใส่ปุ๋ยตามเนื้อดินจากการประเมินอย่างง่าย
{| class="wikitable"
{| class="wikitable"
บรรทัดที่ 218: บรรทัดที่ 218:
== '''การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดินตามค่าวิเคราะห์ดิน''' ==
== '''การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดินตามค่าวิเคราะห์ดิน''' ==


=== 1. พีเอช (pH) ===
=== พีเอช (pH) ===


* '''ระดับปานกลาง (4.5-7.0)''' ไม่มีความจำเป็นใด ๆ ที่จะต้องมีการปรับปรุงเนื่องจากเป็นพิสัยที่
* '''ระดับปานกลาง (4.5-7.0)''' ไม่มีความจำเป็นใด ๆ ที่จะต้องมีการปรับปรุงเนื่องจากเป็นพิสัยที่
บรรทัดที่ 228: บรรทัดที่ 228:
* '''ระดับสูงถึงสูงมาก (7.0-8.0)''' ดินมีความเป็นด่างสูง ควรใช้ปุ๋ยที่มีผลตกค้างเป็นกรด เช่น แอมโมเนียมซัลเฟต หลีกเลี่ยงการใช้วัสดุปรับปรุงดินที่เป็นด่าง ควรมีการฉีดพ่นปุ๋ยธาตุอาหารเสริมทางใบโดยเฉพาะสังกะสี หรือชุบท่อนพันธุ์ก่อนปลูกเพื่อลดปัญหาการขาดธาตุอาหารเสริมของมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* '''ระดับสูงถึงสูงมาก (7.0-8.0)''' ดินมีความเป็นด่างสูง ควรใช้ปุ๋ยที่มีผลตกค้างเป็นกรด เช่น แอมโมเนียมซัลเฟต หลีกเลี่ยงการใช้วัสดุปรับปรุงดินที่เป็นด่าง ควรมีการฉีดพ่นปุ๋ยธาตุอาหารเสริมทางใบโดยเฉพาะสังกะสี หรือชุบท่อนพันธุ์ก่อนปลูกเพื่อลดปัญหาการขาดธาตุอาหารเสริมของมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== 2. '''ปริมาณอินทรียวัตถุ''' ===
=== ปริมาณอินทรียวัตถุ ===


* '''ระดับต่ำมาก (<1.0%)''' ควรมีการจัดการเพิ่มเติมอินทรียวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกโดยเฉพาะมูลไก่แกลบในอัตรา 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งนี้ควรพิจารณาเรื่องการปรับลดปุ๋ยไนโตรเจนลงบ้างเพื่อลดอาการเฝือใบ การใส่กากแป้งจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังในระยะยาวอาจส่งผลต่อการลดลงของค่าพีเอชดิน ซึ่งต้องมีการทดลองว่ามีผลต่อมันสำปะหลังอย่างไร การใช้กากแป้งที่มี C:N Ratio กว้างในปริมาณมาก ต้องระวังการเกิด N-immobilization และอาจทำให้พืชขาด N ได้ โดยเฉพาะในระยะแรก ๆ ของการเติบโตของมันสำปะหลัง ซึ่งเป็นช่วงที่จะมีผลต่อการให้ผลผลิตที่สำคัญมาก และการไถกลบเศษเหลือของพืชลงไปในดินอย่างสม่ำเสมอ หรือการไถกลบพืชปุ๋ยสดจะช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* '''ระดับต่ำมาก (<1.0%)''' ควรมีการจัดการเพิ่มเติมอินทรียวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกโดยเฉพาะมูลไก่แกลบในอัตรา 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งนี้ควรพิจารณาเรื่องการปรับลดปุ๋ยไนโตรเจนลงบ้างเพื่อลดอาการเฝือใบ การใส่กากแป้งจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังในระยะยาวอาจส่งผลต่อการลดลงของค่าพีเอชดิน ซึ่งต้องมีการทดลองว่ามีผลต่อมันสำปะหลังอย่างไร การใช้กากแป้งที่มี C:N Ratio กว้างในปริมาณมาก ต้องระวังการเกิด N-immobilization และอาจทำให้พืชขาด N ได้ โดยเฉพาะในระยะแรก ๆ ของการเติบโตของมันสำปะหลัง ซึ่งเป็นช่วงที่จะมีผลต่อการให้ผลผลิตที่สำคัญมาก และการไถกลบเศษเหลือของพืชลงไปในดินอย่างสม่ำเสมอ หรือการไถกลบพืชปุ๋ยสดจะช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== 3. ค่าความเค็ม ===
=== ค่าความเค็ม ===
มันสำปะหลังส่วนใหญ่จะปลูกในที่ดอน ดังนั้น จึงไม่ค่อยพบปัญหา ยกเว้นในบางบริเวณที่ปลูกอยู่ระหว่างรอยต่อของที่นาที่เป็นดินเค็มกับที่ดอน ซึ่งแก้ไขได้โดยการเพิ่มเติมวัสดุอินทรีย์ เช่น แกลบสด หรือเศษเหลือของพืชแล้วไถกลบ ควรหลีกเลี่ยงการใช้มูลไก่สด หรือมูลไก่แกลบ เนื่องจากเป็นวัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ที่มีค่าความเค็มค่อนข้างสูง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
มันสำปะหลังส่วนใหญ่จะปลูกในที่ดอน ดังนั้น จึงไม่ค่อยพบปัญหา ยกเว้นในบางบริเวณที่ปลูกอยู่ระหว่างรอยต่อของที่นาที่เป็นดินเค็มกับที่ดอน ซึ่งแก้ไขได้โดยการเพิ่มเติมวัสดุอินทรีย์ เช่น แกลบสด หรือเศษเหลือของพืชแล้วไถกลบ ควรหลีกเลี่ยงการใช้มูลไก่สด หรือมูลไก่แกลบ เนื่องจากเป็นวัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ที่มีค่าความเค็มค่อนข้างสูง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== 4. ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ===
=== ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ===


* '''ระดับต่ำมากถึงค่อนข้างต่ำ (<10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ควรใช้ปุ๋ยหลักที่เป็นสูตรเสมอ เช่น ปุ๋ย 15-15-15 หรือ 16-16-16 หรือในเรโช 1:1:1 ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่
* '''ระดับต่ำมากถึงค่อนข้างต่ำ (<10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ควรใช้ปุ๋ยหลักที่เป็นสูตรเสมอ เช่น ปุ๋ย 15-15-15 หรือ 16-16-16 หรือในเรโช 1:1:1 ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่
บรรทัดที่ 241: บรรทัดที่ 241:
* '''ระดับสูงถึงสูงมาก (>25''' '''มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ใช้ปุ๋ยเคมีที่ไม่มีฟอสฟอรัสในรูปปุ๋ยเดี่ยวไนโตรเจน โพแทสเซียม หรือปุ๋ยผสม (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* '''ระดับสูงถึงสูงมาก (>25''' '''มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ใช้ปุ๋ยเคมีที่ไม่มีฟอสฟอรัสในรูปปุ๋ยเดี่ยวไนโตรเจน โพแทสเซียม หรือปุ๋ยผสม (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== 5. โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ ===
=== โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ ===


* '''ระดับต่ำมาก (<30 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ซึ่งส่วนใหญ่จะพบในกรณีของดินเนื้อหยาบ ประเภท ดินทรายจัด ควรใช้ปุ๋ยสูตร 13-13-21 หรือใส่ปุ๋ยสูตรเสมอ เช่น สูตร 15-15-15 ฯลฯ
* '''ระดับต่ำมาก (<30 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ซึ่งส่วนใหญ่จะพบในกรณีของดินเนื้อหยาบ ประเภท ดินทรายจัด ควรใช้ปุ๋ยสูตร 13-13-21 หรือใส่ปุ๋ยสูตรเสมอ เช่น สูตร 15-15-15 ฯลฯ
บรรทัดที่ 249: บรรทัดที่ 249:
* '''ระดับสูง (>90 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' เนื่องจากมีโพแทสเซียมสูงอยู่แล้ว แนะนำให้ใส่ปุ๋ยสูตรที่มีเรโช ประมาณ 1:1:0 เช่นสูตร 16-20-0 หรือปุ๋ยที่มีเรโช 2:2:1 เช่นปุ๋ยสูตร 16-16-8 ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* '''ระดับสูง (>90 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' เนื่องจากมีโพแทสเซียมสูงอยู่แล้ว แนะนำให้ใส่ปุ๋ยสูตรที่มีเรโช ประมาณ 1:1:0 เช่นสูตร 16-20-0 หรือปุ๋ยที่มีเรโช 2:2:1 เช่นปุ๋ยสูตร 16-16-8 ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== 6. ธาตุอาหารรอง ===
=== ธาตุอาหารรอง ===
'''(แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ และกำมะถันที่เป็นประโยชน์)'''
'''(แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ และกำมะถันที่เป็นประโยชน์)'''


บรรทัดที่ 256: บรรทัดที่ 256:
ในกรณีที่ดินขาดธาตุอาหารรอง (Ca, Mg และ S) แนะนำให้ใช้ปุ๋ยธาตุอาหารรอง (Ca, Mg, S) เช่น ฟอสโฟยิปซัม (CaSO<sub>4</sub>.2H<sub>2</sub>O+P) ยิปซัม (CaSO<sub>4</sub>.2H<sub>2</sub>O) โดโลไมต์(CaCO<sub>3</sub>.MgCO<sub>3</sub>) ซัล-โป-แม๊กซ์ (MgSO<sub>4</sub>.K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>) โดยการใช้ฟอสโฟยิปซัม ยิปซัม และ โดโลไมต์ จะช่วยปรับปรุงสมบัติของดินที่มีปัญหาทางฟิสิกส์ไปด้วย เช่น ดินที่มีอัตราการแทรกซึมน้ำต่ำ ดินที่เกิดแผ่นแข็งปิดผิว กล่าวคือ มีคุณสมบัติเป็นทั้งปุ๋ยธาตุอาหารรอง และสารปรับปรุงดินไปพร้อม ๆ กัน ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
ในกรณีที่ดินขาดธาตุอาหารรอง (Ca, Mg และ S) แนะนำให้ใช้ปุ๋ยธาตุอาหารรอง (Ca, Mg, S) เช่น ฟอสโฟยิปซัม (CaSO<sub>4</sub>.2H<sub>2</sub>O+P) ยิปซัม (CaSO<sub>4</sub>.2H<sub>2</sub>O) โดโลไมต์(CaCO<sub>3</sub>.MgCO<sub>3</sub>) ซัล-โป-แม๊กซ์ (MgSO<sub>4</sub>.K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>) โดยการใช้ฟอสโฟยิปซัม ยิปซัม และ โดโลไมต์ จะช่วยปรับปรุงสมบัติของดินที่มีปัญหาทางฟิสิกส์ไปด้วย เช่น ดินที่มีอัตราการแทรกซึมน้ำต่ำ ดินที่เกิดแผ่นแข็งปิดผิว กล่าวคือ มีคุณสมบัติเป็นทั้งปุ๋ยธาตุอาหารรอง และสารปรับปรุงดินไปพร้อม ๆ กัน ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== 7. ธาตุอาหารเสริม ===
=== ธาตุอาหารเสริม ===
โบรอนเป็นธาตุอาหารเสริมที่มันสำปะหลังต้องการในปริมาณน้อยมาก และไม่ค่อยพบรายงานว่ามีอาการขาดเกิดขึ้นในแปลงปลูกมันสำปะหลัง สำหรับธาตุทองแดง แมงกานีส และเหล็ก โดยทั่วไปไม่ค่อยพบอาการขาดในประเทศไทยโดยเฉพาะในดินที่มีพีเอชเป็นกรด ปัญหาที่พบมากที่สุดสำหรับมันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศไทยก็คือ การขาดธาตุสังกะสีโดยเฉพาะเมื่อปลูกในดินทรายจัด ดินด่าง หรือพื้นที่ดินที่ปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน หรือมีการใช้ปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัสในอัตราสูงอย่างต่อเนื่อง การขาดสังกะสีมีผลทำให้มันสำปะหลังยืดต้นช้า พบแถบสีขาว หรือเหลืองบนใบอ่อน ใบอาจย่นหรือเปลี่ยนรูปร่าง อาจพบจุดแผลเซลล์ตายในใบล่าง และอาจรุนแรงทำให้ต้นตาย ส่งผลถึงความอยู่รอดและผลผลิตมันสำปะหลัง แก้ไขโดยการฉีดพ่นปุ๋ยซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรตทางใบที่อัตรา 0.8 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบเมื่อมันสำปะหลังอายุ 1, 2 และ 3 เดือนหลังปลูก หรือชุบท่อนพันธุ์ก่อนปลูกด้วยธาตุสังกะสี (ซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรต) ที่ละลายน้ำในอัตรา 0.4 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เป็นเวลา 15 นาที (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
โบรอนเป็นธาตุอาหารเสริมที่มันสำปะหลังต้องการในปริมาณน้อยมาก และไม่ค่อยพบรายงานว่ามีอาการขาดเกิดขึ้นในแปลงปลูกมันสำปะหลัง สำหรับธาตุทองแดง แมงกานีส และเหล็ก โดยทั่วไปไม่ค่อยพบอาการขาดในประเทศไทยโดยเฉพาะในดินที่มีพีเอชเป็นกรด ปัญหาที่พบมากที่สุดสำหรับมันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศไทยก็คือ การขาดธาตุสังกะสีโดยเฉพาะเมื่อปลูกในดินทรายจัด ดินด่าง หรือพื้นที่ดินที่ปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน หรือมีการใช้ปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัสในอัตราสูงอย่างต่อเนื่อง การขาดสังกะสีมีผลทำให้มันสำปะหลังยืดต้นช้า พบแถบสีขาว หรือเหลืองบนใบอ่อน ใบอาจย่นหรือเปลี่ยนรูปร่าง อาจพบจุดแผลเซลล์ตายในใบล่าง และอาจรุนแรงทำให้ต้นตาย ส่งผลถึงความอยู่รอดและผลผลิตมันสำปะหลัง แก้ไขโดยการฉีดพ่นปุ๋ยซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรตทางใบที่อัตรา 0.8 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบเมื่อมันสำปะหลังอายุ 1, 2 และ 3 เดือนหลังปลูก หรือชุบท่อนพันธุ์ก่อนปลูกด้วยธาตุสังกะสี (ซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรต) ที่ละลายน้ำในอัตรา 0.4 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เป็นเวลา 15 นาที (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== 8. การปรับปรุงดินโดยชีววิธี ===
=== การปรับปรุงดินโดยชีววิธี ===
การปรับปรุงดินเป็นการรักษาคุณภาพดิน เพื่อให้คงสภาพความอุดมสมบูรณ์ เพื่อใช้สำหรับเพาะปลูกได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงต้องมีการปรับปรุงอย่างถูกวิธี ซึ่งการปรับปรุงดินนั้นมีหลายวิธี ได้แก่ การปลูกพืชแซม การคลุมดิน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชคลุมดิน การใช้ปุ๋ยพืชสด การปลูกพืชบนพื้นที่ระหว่างแถวไม้ยืนต้น และการใส่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก วิธีการเหล่านี้ช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน ปรับปรุงโครงสร้างดิน ซึ่งสามารถใช้ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีได้
การปรับปรุงดินเป็นการรักษาคุณภาพดิน เพื่อให้คงสภาพความอุดมสมบูรณ์ เพื่อใช้สำหรับเพาะปลูกได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงต้องมีการปรับปรุงอย่างถูกวิธี ซึ่งการปรับปรุงดินนั้นมีหลายวิธี ได้แก่ การปลูกพืชแซม การคลุมดิน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชคลุมดิน การใช้ปุ๋ยพืชสด การปลูกพืชบนพื้นที่ระหว่างแถวไม้ยืนต้น และการใส่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก วิธีการเหล่านี้ช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน ปรับปรุงโครงสร้างดิน ซึ่งสามารถใช้ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีได้


134

การแก้ไข