ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดิน"

บรรทัดที่ 216: บรรทัดที่ 216:
ที่มา: ดัดแปลงจากคำแนะนำการใช้ปุ๋ยกับพืชเศรษฐกิจ (กรมวิชาการเกษตร, 2553)
ที่มา: ดัดแปลงจากคำแนะนำการใช้ปุ๋ยกับพืชเศรษฐกิจ (กรมวิชาการเกษตร, 2553)


== การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดินตามค่าวิเคราะห์ดิน ==
== '''การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดินตามค่าวิเคราะห์ดิน''' ==


=== 1. พีเอช (pH) ===
=== 1. พีเอช (pH) ===
บรรทัดที่ 232: บรรทัดที่ 232:
* '''ระดับต่ำมาก (<1.0%)''' ควรมีการจัดการเพิ่มเติมอินทรียวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกโดยเฉพาะมูลไก่แกลบในอัตรา 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งนี้ควรพิจารณาเรื่องการปรับลดปุ๋ยไนโตรเจนลงบ้างเพื่อลดอาการเฝือใบ การใส่กากแป้งจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังในระยะยาวอาจส่งผลต่อการลดลงของค่าพีเอชดิน ซึ่งต้องมีการทดลองว่ามีผลต่อมันสำปะหลังอย่างไร การใช้กากแป้งที่มี C:N Ratio กว้างในปริมาณมาก ต้องระวังการเกิด N-immobilization และอาจทำให้พืชขาด N ได้ โดยเฉพาะในระยะแรก ๆ ของการเติบโตของมันสำปะหลัง ซึ่งเป็นช่วงที่จะมีผลต่อการให้ผลผลิตที่สำคัญมาก และการไถกลบเศษเหลือของพืชลงไปในดินอย่างสม่ำเสมอ หรือการไถกลบพืชปุ๋ยสดจะช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* '''ระดับต่ำมาก (<1.0%)''' ควรมีการจัดการเพิ่มเติมอินทรียวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกโดยเฉพาะมูลไก่แกลบในอัตรา 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งนี้ควรพิจารณาเรื่องการปรับลดปุ๋ยไนโตรเจนลงบ้างเพื่อลดอาการเฝือใบ การใส่กากแป้งจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังในระยะยาวอาจส่งผลต่อการลดลงของค่าพีเอชดิน ซึ่งต้องมีการทดลองว่ามีผลต่อมันสำปะหลังอย่างไร การใช้กากแป้งที่มี C:N Ratio กว้างในปริมาณมาก ต้องระวังการเกิด N-immobilization และอาจทำให้พืชขาด N ได้ โดยเฉพาะในระยะแรก ๆ ของการเติบโตของมันสำปะหลัง ซึ่งเป็นช่วงที่จะมีผลต่อการให้ผลผลิตที่สำคัญมาก และการไถกลบเศษเหลือของพืชลงไปในดินอย่างสม่ำเสมอ หรือการไถกลบพืชปุ๋ยสดจะช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== 3. '''ค่าความเค็ม''' ===
=== 3. ค่าความเค็ม ===
มันสำปะหลังส่วนใหญ่จะปลูกในที่ดอน ดังนั้น จึงไม่ค่อยพบปัญหา ยกเว้นในบางบริเวณที่ปลูกอยู่ระหว่างรอยต่อของที่นาที่เป็นดินเค็มกับที่ดอน ซึ่งแก้ไขได้โดยการเพิ่มเติมวัสดุอินทรีย์ เช่น แกลบสด หรือเศษเหลือของพืชแล้วไถกลบ ควรหลีกเลี่ยงการใช้มูลไก่สด หรือมูลไก่แกลบ เนื่องจากเป็นวัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ที่มีค่าความเค็มค่อนข้างสูง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
มันสำปะหลังส่วนใหญ่จะปลูกในที่ดอน ดังนั้น จึงไม่ค่อยพบปัญหา ยกเว้นในบางบริเวณที่ปลูกอยู่ระหว่างรอยต่อของที่นาที่เป็นดินเค็มกับที่ดอน ซึ่งแก้ไขได้โดยการเพิ่มเติมวัสดุอินทรีย์ เช่น แกลบสด หรือเศษเหลือของพืชแล้วไถกลบ ควรหลีกเลี่ยงการใช้มูลไก่สด หรือมูลไก่แกลบ เนื่องจากเป็นวัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ที่มีค่าความเค็มค่อนข้างสูง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


บรรทัดที่ 256: บรรทัดที่ 256:
ในกรณีที่ดินขาดธาตุอาหารรอง (Ca, Mg และ S) แนะนำให้ใช้ปุ๋ยธาตุอาหารรอง (Ca, Mg, S) เช่น ฟอสโฟยิปซัม (CaSO<sub>4</sub>.2H<sub>2</sub>O+P) ยิปซัม (CaSO<sub>4</sub>.2H<sub>2</sub>O) โดโลไมต์(CaCO<sub>3</sub>.MgCO<sub>3</sub>) ซัล-โป-แม๊กซ์ (MgSO<sub>4</sub>.K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>) โดยการใช้ฟอสโฟยิปซัม ยิปซัม และ โดโลไมต์ จะช่วยปรับปรุงสมบัติของดินที่มีปัญหาทางฟิสิกส์ไปด้วย เช่น ดินที่มีอัตราการแทรกซึมน้ำต่ำ ดินที่เกิดแผ่นแข็งปิดผิว กล่าวคือ มีคุณสมบัติเป็นทั้งปุ๋ยธาตุอาหารรอง และสารปรับปรุงดินไปพร้อม ๆ กัน ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
ในกรณีที่ดินขาดธาตุอาหารรอง (Ca, Mg และ S) แนะนำให้ใช้ปุ๋ยธาตุอาหารรอง (Ca, Mg, S) เช่น ฟอสโฟยิปซัม (CaSO<sub>4</sub>.2H<sub>2</sub>O+P) ยิปซัม (CaSO<sub>4</sub>.2H<sub>2</sub>O) โดโลไมต์(CaCO<sub>3</sub>.MgCO<sub>3</sub>) ซัล-โป-แม๊กซ์ (MgSO<sub>4</sub>.K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>) โดยการใช้ฟอสโฟยิปซัม ยิปซัม และ โดโลไมต์ จะช่วยปรับปรุงสมบัติของดินที่มีปัญหาทางฟิสิกส์ไปด้วย เช่น ดินที่มีอัตราการแทรกซึมน้ำต่ำ ดินที่เกิดแผ่นแข็งปิดผิว กล่าวคือ มีคุณสมบัติเป็นทั้งปุ๋ยธาตุอาหารรอง และสารปรับปรุงดินไปพร้อม ๆ กัน ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== 7. '''ธาตุอาหารเสริม''' ===
=== 7. ธาตุอาหารเสริม ===
โบรอนเป็นธาตุอาหารเสริมที่มันสำปะหลังต้องการในปริมาณน้อยมาก และไม่ค่อยพบรายงานว่ามีอาการขาดเกิดขึ้นในแปลงปลูกมันสำปะหลัง สำหรับธาตุทองแดง แมงกานีส และเหล็ก โดยทั่วไปไม่ค่อยพบอาการขาดในประเทศไทยโดยเฉพาะในดินที่มีพีเอชเป็นกรด ปัญหาที่พบมากที่สุดสำหรับมันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศไทยก็คือ การขาดธาตุสังกะสีโดยเฉพาะเมื่อปลูกในดินทรายจัด ดินด่าง หรือพื้นที่ดินที่ปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน หรือมีการใช้ปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัสในอัตราสูงอย่างต่อเนื่อง การขาดสังกะสีมีผลทำให้มันสำปะหลังยืดต้นช้า พบแถบสีขาว หรือเหลืองบนใบอ่อน ใบอาจย่นหรือเปลี่ยนรูปร่าง อาจพบจุดแผลเซลล์ตายในใบล่าง และอาจรุนแรงทำให้ต้นตาย ส่งผลถึงความอยู่รอดและผลผลิตมันสำปะหลัง แก้ไขโดยการฉีดพ่นปุ๋ยซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรตทางใบที่อัตรา 0.8 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบเมื่อมันสำปะหลังอายุ 1, 2 และ 3 เดือนหลังปลูก หรือชุบท่อนพันธุ์ก่อนปลูกด้วยธาตุสังกะสี (ซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรต) ที่ละลายน้ำในอัตรา 0.4 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เป็นเวลา 15 นาที (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
โบรอนเป็นธาตุอาหารเสริมที่มันสำปะหลังต้องการในปริมาณน้อยมาก และไม่ค่อยพบรายงานว่ามีอาการขาดเกิดขึ้นในแปลงปลูกมันสำปะหลัง สำหรับธาตุทองแดง แมงกานีส และเหล็ก โดยทั่วไปไม่ค่อยพบอาการขาดในประเทศไทยโดยเฉพาะในดินที่มีพีเอชเป็นกรด ปัญหาที่พบมากที่สุดสำหรับมันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศไทยก็คือ การขาดธาตุสังกะสีโดยเฉพาะเมื่อปลูกในดินทรายจัด ดินด่าง หรือพื้นที่ดินที่ปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน หรือมีการใช้ปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัสในอัตราสูงอย่างต่อเนื่อง การขาดสังกะสีมีผลทำให้มันสำปะหลังยืดต้นช้า พบแถบสีขาว หรือเหลืองบนใบอ่อน ใบอาจย่นหรือเปลี่ยนรูปร่าง อาจพบจุดแผลเซลล์ตายในใบล่าง และอาจรุนแรงทำให้ต้นตาย ส่งผลถึงความอยู่รอดและผลผลิตมันสำปะหลัง แก้ไขโดยการฉีดพ่นปุ๋ยซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรตทางใบที่อัตรา 0.8 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบเมื่อมันสำปะหลังอายุ 1, 2 และ 3 เดือนหลังปลูก หรือชุบท่อนพันธุ์ก่อนปลูกด้วยธาตุสังกะสี (ซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรต) ที่ละลายน้ำในอัตรา 0.4 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เป็นเวลา 15 นาที (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== '''8. การปรับปรุงดินโดยชีววิธี''' ===
=== 8. การปรับปรุงดินโดยชีววิธี ===
การปรับปรุงดินเป็นการรักษาคุณภาพดิน เพื่อให้คงสภาพความอุดมสมบูรณ์ เพื่อใช้สำหรับเพาะปลูกได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงต้องมีการปรับปรุงอย่างถูกวิธี ซึ่งการปรับปรุงดินนั้นมีหลายวิธี ได้แก่ การปลูกพืชแซม การคลุมดิน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชคลุมดิน การใช้ปุ๋ยพืชสด การปลูกพืชบนพื้นที่ระหว่างแถวไม้ยืนต้น และการใส่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก วิธีการเหล่านี้ช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน ปรับปรุงโครงสร้างดิน ซึ่งสามารถใช้ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีได้
การปรับปรุงดินเป็นการรักษาคุณภาพดิน เพื่อให้คงสภาพความอุดมสมบูรณ์ เพื่อใช้สำหรับเพาะปลูกได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงต้องมีการปรับปรุงอย่างถูกวิธี ซึ่งการปรับปรุงดินนั้นมีหลายวิธี ได้แก่ การปลูกพืชแซม การคลุมดิน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชคลุมดิน การใช้ปุ๋ยพืชสด การปลูกพืชบนพื้นที่ระหว่างแถวไม้ยืนต้น และการใส่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก วิธีการเหล่านี้ช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน ปรับปรุงโครงสร้างดิน ซึ่งสามารถใช้ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีได้


134

การแก้ไข