ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดิน"

บรรทัดที่ 40: บรรทัดที่ 40:
* ปุ๋ยสูตร 15-7-18 หรือ 16-8-16 (เรโช 2:1:2 หรือ 2:1:3 หรือ 3:1:2) ขึ้นอยู่กับราคาต่อหน่วยของเนื้อปุ๋ย ใช้กับดินทั่วไปที่มีปริมาณธาตุปุ๋ยต่ำ หรือดินที่มีการปลูกมันสำปะหลังอย่างต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน เหมาะสำหรับดินทราย ดินร่วนทราย ดินร่วนเหนียว ฯลฯ ปุ๋ยสูตร 15-15-15 แนะนำให้ใช้ในดินเหนียวปนกรวด เพราะมีสมบัติตรึงธาตุฟอสฟอรัส (P-fixation) สูง ทำให้ดึงธาตุฟอสฟอรัสไว้กับดิน พืชดึงไปใช้ได้ยาก จึงต้องใส่ธาตุฟอสฟอรัสมาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* ปุ๋ยสูตร 15-7-18 หรือ 16-8-16 (เรโช 2:1:2 หรือ 2:1:3 หรือ 3:1:2) ขึ้นอยู่กับราคาต่อหน่วยของเนื้อปุ๋ย ใช้กับดินทั่วไปที่มีปริมาณธาตุปุ๋ยต่ำ หรือดินที่มีการปลูกมันสำปะหลังอย่างต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน เหมาะสำหรับดินทราย ดินร่วนทราย ดินร่วนเหนียว ฯลฯ ปุ๋ยสูตร 15-15-15 แนะนำให้ใช้ในดินเหนียวปนกรวด เพราะมีสมบัติตรึงธาตุฟอสฟอรัส (P-fixation) สูง ทำให้ดึงธาตุฟอสฟอรัสไว้กับดิน พืชดึงไปใช้ได้ยาก จึงต้องใส่ธาตุฟอสฟอรัสมาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== '''2. อัตราปุ๋ย''' ===
=== 2. อัตราปุ๋ย ===
อัตราปุ๋ยที่แนะนำโดยทั่วไปจะขึ้นอยู่กับสมบัติดิน และพันธุ์มันสำปะหลัง พันธุ์ที่ตอบสนองต่อปุ๋ยในอัตราสูงได้ดี ได้แก่ พันธุ์ห้วยบง 80  ระยอง 5  ระยอง 7 ระยอง 9 และระยอง 11 อัตราที่แนะนำส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่าง 30-100 กิโลกรัมต่อไร่ หากเป็นการใส่ในอัตราสูงเช่น 100 กิโลกรัมต่อไร่ ควรมีการแบ่งใส่เพื่อลดความเสี่ยงในการสูญเสียปุ๋ยโดยการชะละลายออกจากเขตรากมันสำปะหลังเมื่อมีฝนตกหนัก โดยปกติหากมีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมด้วย ในอัตรา 1-2 ตันต่อไร่ ควรลดปริมาณปุ๋ยเคมีลงมาครึ่งหนึ่งของอัตราที่ใส่ปุ๋ยเคมีชนิดเดียว รายละเอียดอัตราปุ๋ยตามลักษณะดิน มีดังนี้
อัตราปุ๋ยที่แนะนำโดยทั่วไปจะขึ้นอยู่กับสมบัติดิน และพันธุ์มันสำปะหลัง พันธุ์ที่ตอบสนองต่อปุ๋ยในอัตราสูงได้ดี ได้แก่ พันธุ์ห้วยบง 80  ระยอง 5  ระยอง 7 ระยอง 9 และระยอง 11 อัตราที่แนะนำส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่าง 30-100 กิโลกรัมต่อไร่ หากเป็นการใส่ในอัตราสูงเช่น 100 กิโลกรัมต่อไร่ ควรมีการแบ่งใส่เพื่อลดความเสี่ยงในการสูญเสียปุ๋ยโดยการชะละลายออกจากเขตรากมันสำปะหลังเมื่อมีฝนตกหนัก โดยปกติหากมีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมด้วย ในอัตรา 1-2 ตันต่อไร่ ควรลดปริมาณปุ๋ยเคมีลงมาครึ่งหนึ่งของอัตราที่ใส่ปุ๋ยเคมีชนิดเดียว รายละเอียดอัตราปุ๋ยตามลักษณะดิน มีดังนี้


บรรทัดที่ 47: บรรทัดที่ 47:
* ดินทราย ดินร่วน ดินร่วนปนทราย และดินทรายปนดินร่วน ใส่ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่ แบ่งใส่ 2 ครั้ง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* ดินทราย ดินร่วน ดินร่วนปนทราย และดินทรายปนดินร่วน ใส่ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่ แบ่งใส่ 2 ครั้ง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== '''3. รูปแบบของปุ๋ยและวิธีการที่ใช้''' ===
=== 3. รูปแบบของปุ๋ยและวิธีการที่ใช้ ===
การใส่ปุ๋ยมันสำปะหลังมีระยะเวลาการใส่ดังนี้
การใส่ปุ๋ยมันสำปะหลังมีระยะเวลาการใส่ดังนี้


บรรทัดที่ 55: บรรทัดที่ 55:
         ข้อควรระวังในการใส่ปุ๋ยคือ จะต้องมีการกำจัดวัชพืชก่อนการใส่ปุ๋ยเสมอเพื่อไม่ให้วัชพืชแก่งแย่งปุ๋ยที่ใส่ลงไปจากมันสำปะหลัง ซึ่งจะเป็นสาเหตุให้เกิดการระบาดของวัชพืช (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
         ข้อควรระวังในการใส่ปุ๋ยคือ จะต้องมีการกำจัดวัชพืชก่อนการใส่ปุ๋ยเสมอเพื่อไม่ให้วัชพืชแก่งแย่งปุ๋ยที่ใส่ลงไปจากมันสำปะหลัง ซึ่งจะเป็นสาเหตุให้เกิดการระบาดของวัชพืช (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== '''4. วิธีการใส่ปุ๋ย''' ===
=== 4. วิธีการใส่ปุ๋ย ===
วิธีการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม ควรใส่ปุ๋ยตรงสันร่อง 2 ข้างลำต้นบริเวณขอบทรงพุ่ม (ขึ้นอยู่กับอายุพืชและขนาดของทรงพุ่ม) โดยการใช้จอบขุดเป็นหลุมขนาดเล็กลึกประมาณ 5-10 เซนติเมตร แล้วใช้ดินกลบ หากไม่กลบอาจทำให้เกิดการสูญเสียปุ๋ยมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์การใส่ปุ๋ยเคมีต้องดำเนินการในขณะที่ดินมีความชื้น และต้องกลบปุ๋ยด้วย การใส่ปุ๋ยรองพื้นมันสำปะหลังไม่ควรทำเพราะรากมันสำปะหลังยังมีปริมาณไม่มากพอที่จะดูดใช้ได้ทัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากมีฝนตกค่อนข้างมากหลังจากการเสียบท่อนพันธุ์ ส่วนการใส่ปุ๋ยด้านข้างร่องอาจจะเป็นการลดค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน โดยการโรยและไถกลบ แต่ไม่เหมาะสมกับมันสำปะหลังพันธุ์แนะนำที่มีระยะปลูกระหว่างต้นประมาณ 80-100 เซนติเมตร เพราะปลายรากพืชไม่สามารถดูดใช้ปุ๋ยได้ทั่วถึง และหากฝนตกแล้วมีการไหลของน้ำในร่องมันสำปะหลังก็จะทำให้เกิดการสูญเสีย สำหรับการหว่านปุ๋ยไม่แนะนำโดยสิ้นเชิงสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
วิธีการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม ควรใส่ปุ๋ยตรงสันร่อง 2 ข้างลำต้นบริเวณขอบทรงพุ่ม (ขึ้นอยู่กับอายุพืชและขนาดของทรงพุ่ม) โดยการใช้จอบขุดเป็นหลุมขนาดเล็กลึกประมาณ 5-10 เซนติเมตร แล้วใช้ดินกลบ หากไม่กลบอาจทำให้เกิดการสูญเสียปุ๋ยมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์การใส่ปุ๋ยเคมีต้องดำเนินการในขณะที่ดินมีความชื้น และต้องกลบปุ๋ยด้วย การใส่ปุ๋ยรองพื้นมันสำปะหลังไม่ควรทำเพราะรากมันสำปะหลังยังมีปริมาณไม่มากพอที่จะดูดใช้ได้ทัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากมีฝนตกค่อนข้างมากหลังจากการเสียบท่อนพันธุ์ ส่วนการใส่ปุ๋ยด้านข้างร่องอาจจะเป็นการลดค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน โดยการโรยและไถกลบ แต่ไม่เหมาะสมกับมันสำปะหลังพันธุ์แนะนำที่มีระยะปลูกระหว่างต้นประมาณ 80-100 เซนติเมตร เพราะปลายรากพืชไม่สามารถดูดใช้ปุ๋ยได้ทั่วถึง และหากฝนตกแล้วมีการไหลของน้ำในร่องมันสำปะหลังก็จะทำให้เกิดการสูญเสีย สำหรับการหว่านปุ๋ยไม่แนะนำโดยสิ้นเชิงสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


บรรทัดที่ 218: บรรทัดที่ 218:
== การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดินตามค่าวิเคราะห์ดิน ==
== การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดินตามค่าวิเคราะห์ดิน ==


=== '''1. พีเอช (pH)''' ===
=== 1. พีเอช (pH) ===


* '''ระดับปานกลาง (4.5-7.0)''' ไม่มีความจำเป็นใด ๆ ที่จะต้องมีการปรับปรุงเนื่องจากเป็นพิสัยที่
* '''ระดับปานกลาง (4.5-7.0)''' ไม่มีความจำเป็นใด ๆ ที่จะต้องมีการปรับปรุงเนื่องจากเป็นพิสัยที่
บรรทัดที่ 235: บรรทัดที่ 235:
มันสำปะหลังส่วนใหญ่จะปลูกในที่ดอน ดังนั้น จึงไม่ค่อยพบปัญหา ยกเว้นในบางบริเวณที่ปลูกอยู่ระหว่างรอยต่อของที่นาที่เป็นดินเค็มกับที่ดอน ซึ่งแก้ไขได้โดยการเพิ่มเติมวัสดุอินทรีย์ เช่น แกลบสด หรือเศษเหลือของพืชแล้วไถกลบ ควรหลีกเลี่ยงการใช้มูลไก่สด หรือมูลไก่แกลบ เนื่องจากเป็นวัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ที่มีค่าความเค็มค่อนข้างสูง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
มันสำปะหลังส่วนใหญ่จะปลูกในที่ดอน ดังนั้น จึงไม่ค่อยพบปัญหา ยกเว้นในบางบริเวณที่ปลูกอยู่ระหว่างรอยต่อของที่นาที่เป็นดินเค็มกับที่ดอน ซึ่งแก้ไขได้โดยการเพิ่มเติมวัสดุอินทรีย์ เช่น แกลบสด หรือเศษเหลือของพืชแล้วไถกลบ ควรหลีกเลี่ยงการใช้มูลไก่สด หรือมูลไก่แกลบ เนื่องจากเป็นวัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ที่มีค่าความเค็มค่อนข้างสูง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== '''4. ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์''' ===
=== 4. ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ===


* '''ระดับต่ำมากถึงค่อนข้างต่ำ (<10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ควรใช้ปุ๋ยหลักที่เป็นสูตรเสมอ เช่น ปุ๋ย 15-15-15 หรือ 16-16-16 หรือในเรโช 1:1:1 ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่
* '''ระดับต่ำมากถึงค่อนข้างต่ำ (<10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ควรใช้ปุ๋ยหลักที่เป็นสูตรเสมอ เช่น ปุ๋ย 15-15-15 หรือ 16-16-16 หรือในเรโช 1:1:1 ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่
บรรทัดที่ 241: บรรทัดที่ 241:
* '''ระดับสูงถึงสูงมาก (>25''' '''มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ใช้ปุ๋ยเคมีที่ไม่มีฟอสฟอรัสในรูปปุ๋ยเดี่ยวไนโตรเจน โพแทสเซียม หรือปุ๋ยผสม (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* '''ระดับสูงถึงสูงมาก (>25''' '''มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ใช้ปุ๋ยเคมีที่ไม่มีฟอสฟอรัสในรูปปุ๋ยเดี่ยวไนโตรเจน โพแทสเซียม หรือปุ๋ยผสม (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== '''5. โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้''' ===
=== 5. โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ ===


* '''ระดับต่ำมาก (<30 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ซึ่งส่วนใหญ่จะพบในกรณีของดินเนื้อหยาบ ประเภท ดินทรายจัด ควรใช้ปุ๋ยสูตร 13-13-21 หรือใส่ปุ๋ยสูตรเสมอ เช่น สูตร 15-15-15 ฯลฯ
* '''ระดับต่ำมาก (<30 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ซึ่งส่วนใหญ่จะพบในกรณีของดินเนื้อหยาบ ประเภท ดินทรายจัด ควรใช้ปุ๋ยสูตร 13-13-21 หรือใส่ปุ๋ยสูตรเสมอ เช่น สูตร 15-15-15 ฯลฯ
บรรทัดที่ 249: บรรทัดที่ 249:
* '''ระดับสูง (>90 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' เนื่องจากมีโพแทสเซียมสูงอยู่แล้ว แนะนำให้ใส่ปุ๋ยสูตรที่มีเรโช ประมาณ 1:1:0 เช่นสูตร 16-20-0 หรือปุ๋ยที่มีเรโช 2:2:1 เช่นปุ๋ยสูตร 16-16-8 ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* '''ระดับสูง (>90 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' เนื่องจากมีโพแทสเซียมสูงอยู่แล้ว แนะนำให้ใส่ปุ๋ยสูตรที่มีเรโช ประมาณ 1:1:0 เช่นสูตร 16-20-0 หรือปุ๋ยที่มีเรโช 2:2:1 เช่นปุ๋ยสูตร 16-16-8 ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== '''6. ธาตุอาหารรอง''' ===
=== 6. ธาตุอาหารรอง ===
'''(แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ และกำมะถันที่เป็นประโยชน์)'''
'''(แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ และกำมะถันที่เป็นประโยชน์)'''


134

การแก้ไข