100
การแก้ไข
บรรทัดที่ 31: | บรรทัดที่ 31: | ||
# '''การให้น้ำระบบฝนโปรย (sprinkler)''' เป็นการใช้ปั้มน้ำส่งน้ำผ่านท่อไปยังหัวสปริงเกอร์เพื่อฉีดพ่นขึ้นสู่อากาศ เหมาะสำหรับพื้นที่ที่พื้นที่มีความลาดเทมากและไม่สามารถปรับพื้นที่ให้มีความสม่ำเสมอได้ วิธีนี้จะทำให้น้ำกระจายสม่ำเสมอและเป็นไปอย่างช้า ๆ และใช้ได้กับทุกอัตราการซึมน้ำจากผิวดิน มีประสิทธิภาพการใช้น้ำ 70-85 เปอร์เซ็นต์ ช่วยลดการไหลบ่าของน้ำที่ชะล้างหน้าดิน แต่การให้น้ำวิธีนี้ไม่เหมาะสมกับพื้นที่ที่มีลมแรงมาก เพราะลมจะพัดพาละอองน้ำบางส่วนออกไปจากพื้นที่ที่จะให้น้ำ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2525; สมเกียรติ, 2546; มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | # '''การให้น้ำระบบฝนโปรย (sprinkler)''' เป็นการใช้ปั้มน้ำส่งน้ำผ่านท่อไปยังหัวสปริงเกอร์เพื่อฉีดพ่นขึ้นสู่อากาศ เหมาะสำหรับพื้นที่ที่พื้นที่มีความลาดเทมากและไม่สามารถปรับพื้นที่ให้มีความสม่ำเสมอได้ วิธีนี้จะทำให้น้ำกระจายสม่ำเสมอและเป็นไปอย่างช้า ๆ และใช้ได้กับทุกอัตราการซึมน้ำจากผิวดิน มีประสิทธิภาพการใช้น้ำ 70-85 เปอร์เซ็นต์ ช่วยลดการไหลบ่าของน้ำที่ชะล้างหน้าดิน แต่การให้น้ำวิธีนี้ไม่เหมาะสมกับพื้นที่ที่มีลมแรงมาก เพราะลมจะพัดพาละอองน้ำบางส่วนออกไปจากพื้นที่ที่จะให้น้ำ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2525; สมเกียรติ, 2546; มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
# '''การให้น้ำรูปบน้ำหยด (Drip หรือ Trickle)''' เป็นการใช้ปั้มน้ำส่งน้ำผ่านท่อไปยังหัวน้ำหยดซึ่งน้ำจะหยดลงดิน ทำให้ดินบางส่วนภายใต้รัศมีทรงพุ่มของพืชได้รับน้ำ ซึ่งเหมาะสำหรับให้น้ำในแปลงมันสำปะหลังที่ปลูกในฤดูแล้งปลายฝน (ธรรมนูญ, 2549) เป็นวิธีที่ประหยัดแรงงานในการให้น้ำ สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีพร้อม ๆ กับการให้น้ำได้ ลดปัญหาของโรคที่เกี่ยวเนื่องกับความเปียกชื้นและปัญหาวัชพืชในแปลง รวมทั้งมีประสิทธิภาพการใช้น้ำ 95-100 เปอร์เซ็นต์ (ธรรมนูญ, 2549; | # '''การให้น้ำรูปบน้ำหยด (Drip หรือ Trickle)''' เป็นการใช้ปั้มน้ำส่งน้ำผ่านท่อไปยังหัวน้ำหยดซึ่งน้ำจะหยดลงดิน ทำให้ดินบางส่วนภายใต้รัศมีทรงพุ่มของพืชได้รับน้ำ ซึ่งเหมาะสำหรับให้น้ำในแปลงมันสำปะหลังที่ปลูกในฤดูแล้งปลายฝน (ธรรมนูญ, 2549) เป็นวิธีที่ประหยัดแรงงานในการให้น้ำ สามารถให้ปุ๋ยและสารเคมีพร้อม ๆ กับการให้น้ำได้ ลดปัญหาของโรคที่เกี่ยวเนื่องกับความเปียกชื้นและปัญหาวัชพืชในแปลง รวมทั้งมีประสิทธิภาพการใช้น้ำ 95-100 เปอร์เซ็นต์ (ธรรมนูญ, 2549; พงษ์ศักดิ์, 2548; มนตรี, 2554) นอกจากนี้ ข้อดีของการให้น้ำแบบหยด คือ ให้น้ำปริมาณน้อย ให้ได้บ่อยครั้ง ซึ่งเป็นการช่วยประหยัดน้ำและช่วยรักษาความชื้นในดินให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช (Fao, 2013) | ||
==== '''การให้น้ำทางผิวดิน (surface)''' ==== | ==== '''การให้น้ำทางผิวดิน (surface)''' ==== |
การแก้ไข