223
การแก้ไข
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
ปัจจุบันมีมันสำปะหลังหลายพันธุ์ให้เกษตรกรเลือกใช้ปลูกในแต่ละท้องที่ และดินแต่ละชุด จะมีความเหมาะสมกับพันธุ์ต่างๆ ที่แตกต่างกันออกไป การขยายพันธุ์มันสำปะหลังส่วนใหญ่ไม่นิยมขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด เนื่องจากมันสำปะหลังไม่ค่อยติดเมล็ด อีกทั้งการเก็บเมล็ดพันธุ์นั้นลำบาก เนื่องจากเมื่อฝักแก่แล้วจะแตก ทำให้เมล็ดของมันสำปะหลังร่วง และต้องพักตัวประมาณ 2 เดือน จึงจะสามารถนำมาเพาะเป็นต้นกล้า ต้องใช้เวลาในการอนุบาลก่อนจะย้ายลงแปลงปลูก และมักเกิด การผสมข้ามพันธุ์ได้ง่าย การปลูกด้วยเมล็ดจึงจึงนิยมในการขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ หรือการปรับปรุงพันธุ์เท่านั้น (สถาบันวิจัย และพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2558) ดังนั้นเกษตรกรจึงนิยมขยายพันธุ์มันสำปะหลังด้วยการใช้ท่อนพันธุ์ ซึ่งการเตรียมท่อนพันธุ์มันสำปะหลังควรคำนึงถึงต้นพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ปลูก จึงจะสามารถเจริญเติบโตได้ดี มีโอกาสในการติดโรคและแมลงน้อย การเตรียมท่อนพันธุ์มีข้อพิจารณา ดังนี้ | ปัจจุบันมีมันสำปะหลังหลายพันธุ์ให้เกษตรกรเลือกใช้ปลูกในแต่ละท้องที่ และดินแต่ละชุด จะมีความเหมาะสมกับพันธุ์ต่างๆ ที่แตกต่างกันออกไป การขยายพันธุ์มันสำปะหลังส่วนใหญ่ไม่นิยมขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด เนื่องจากมันสำปะหลังไม่ค่อยติดเมล็ด อีกทั้งการเก็บเมล็ดพันธุ์นั้นลำบาก เนื่องจากเมื่อฝักแก่แล้วจะแตก ทำให้เมล็ดของมันสำปะหลังร่วง และต้องพักตัวประมาณ 2 เดือน จึงจะสามารถนำมาเพาะเป็นต้นกล้า ต้องใช้เวลาในการอนุบาลก่อนจะย้ายลงแปลงปลูก และมักเกิด การผสมข้ามพันธุ์ได้ง่าย การปลูกด้วยเมล็ดจึงจึงนิยมในการขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ หรือการปรับปรุงพันธุ์เท่านั้น (สถาบันวิจัย และพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2558) ดังนั้นเกษตรกรจึงนิยมขยายพันธุ์มันสำปะหลังด้วยการใช้ท่อนพันธุ์ ซึ่งการเตรียมท่อนพันธุ์มันสำปะหลังควรคำนึงถึงต้นพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ปลูก จึงจะสามารถเจริญเติบโตได้ดี มีโอกาสในการติดโรคและแมลงน้อย การเตรียมท่อนพันธุ์มีข้อพิจารณา ดังนี้ | ||
== '''การตัดท่อนพันธุ์''' == | == '''การตัดท่อนพันธุ์''' <ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> == | ||
ลักษณะการสับท่อนพันธุ์โดยวิธีสับตรงหรือสับเฉียง รวมทั้งการใช้มีดหรือใช้เครื่องตัดหญ้าติดใบมีดตัด ไม่ทำให้ผลผลิตที่ได้แตกต่างกัน ดังนั้นการเลือกวิธีและอุปกรณ์ในการสับท่อนพันธุ์จึงขึ้นอยู่กับความพร้อมของแรงงานและอุปกรณ์ที่มีอยู่ | ลักษณะการสับท่อนพันธุ์โดยวิธีสับตรงหรือสับเฉียง รวมทั้งการใช้มีดหรือใช้เครื่องตัดหญ้าติดใบมีดตัด ไม่ทำให้ผลผลิตที่ได้แตกต่างกัน ดังนั้นการเลือกวิธีและอุปกรณ์ในการสับท่อนพันธุ์จึงขึ้นอยู่กับความพร้อมของแรงงานและอุปกรณ์ที่มีอยู่ | ||
[[ไฟล์:Image s10.png|center|thumb|319x319px|ภาพแสดงการตัดท่อนพันธุ์ด้วยมีด]] | [[ไฟล์:Image s10.png|center|thumb|319x319px|ภาพแสดงการตัดท่อนพันธุ์ด้วยมีด]] | ||
[[ไฟล์:Image s11.png|center|thumb|323x323px|ภาพแสดงการตัดท่อนพันธุ์ด้วยเครื่องตัดหญ้าติดใบมีด]] | [[ไฟล์:Image s11.png|center|thumb|323x323px|ภาพแสดงการตัดท่อนพันธุ์ด้วยเครื่องตัดหญ้าติดใบมีด]] | ||
== '''การแช่ท่อนพันธุ์ด้วยธาตุอาหารพืช''' == | == '''การแช่ท่อนพันธุ์ด้วยธาตุอาหารพืช''' <ref name=":0" /> == | ||
การแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารชีวภาพหรือฮอร์โมนเร่งรากไม่ทำให้ผลผลิตและปริมาณแป้งในหัวแตกต่างกัน จึงไม่จำเป็นต้องเพิ่มต้นทุนในขั้นตอนนี้ แต่หากต้นพันธุ์ที่นำมาใช้ปลูกเป็นต้นเก่า เก็บรักษาไว้นานมากกว่า 1 เดือน แนะนำให้แช่ท่อนพันธุ์ในน้ำเปล่านานประมาณ 2 ชั่วโมงแล้วนำขึ้นมาบ่มไว้นาน 1 คืน จะช่วยให้ความงอกและความอยู่รอดสูงขึ้นแตกต่างจากการไม่แช่น้ำอย่างเด่นชัด โดยไม่จำเป็นต้องแช่ฮอร์โมนหรือปุ๋ยชีวภาพแต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม วิธีการดังกล่าวสิ้นเปลืองเวลาและไม่สะดวกในทางปฏิบัติ ดังนั้นวิธีที่ดีที่สุดคือการเลือกใช้ต้นพันธุ์ที่ตัดสดหรือตัดทิ้งไว้ไม่เกิน 15 วันมาปลูก โดยการวางแผนช่วงเวลาตัดต้นพันธุ์ให้สอดคล้องกับแผนการปลูก | การแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารชีวภาพหรือฮอร์โมนเร่งรากไม่ทำให้ผลผลิตและปริมาณแป้งในหัวแตกต่างกัน จึงไม่จำเป็นต้องเพิ่มต้นทุนในขั้นตอนนี้ แต่หากต้นพันธุ์ที่นำมาใช้ปลูกเป็นต้นเก่า เก็บรักษาไว้นานมากกว่า 1 เดือน แนะนำให้แช่ท่อนพันธุ์ในน้ำเปล่านานประมาณ 2 ชั่วโมงแล้วนำขึ้นมาบ่มไว้นาน 1 คืน จะช่วยให้ความงอกและความอยู่รอดสูงขึ้นแตกต่างจากการไม่แช่น้ำอย่างเด่นชัด โดยไม่จำเป็นต้องแช่ฮอร์โมนหรือปุ๋ยชีวภาพแต่อย่างใด อย่างไรก็ตาม วิธีการดังกล่าวสิ้นเปลืองเวลาและไม่สะดวกในทางปฏิบัติ ดังนั้นวิธีที่ดีที่สุดคือการเลือกใช้ต้นพันธุ์ที่ตัดสดหรือตัดทิ้งไว้ไม่เกิน 15 วันมาปลูก โดยการวางแผนช่วงเวลาตัดต้นพันธุ์ให้สอดคล้องกับแผนการปลูก | ||
ในกรณีที่พื้นที่ปลูกเป็นดินด่าง (pH > 7.0) หรือต้นพันธุ์ที่จัดหามาปลูกได้มาจากพื้นที่ที่ขาดธาตุสังกะสี (Zn) เมื่อนำต้นพันธุ์จากแหล่งที่ขาดธาตุอาหารดังกล่าวมาปลูก ต้นมันสำปะหลังมักแสดงอาการขาดธาตุสังกะสีตั้งแต่ต้นยังเล็ก วิธีการแก้ไขทำได้โดยการแช่ในสารละลายซิงค์ซัลเฟต (ZnSO<sub>4</sub>) ที่ความเข้มข้น 2 เปอร์เซ็นต์ โดยผสมซิงค์ซัลเฟตในอัตรา 400 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์นานประมาณ 10 นาที ทั้งนี้สามารถแช่ไปพร้อมกับสารเคมีป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งได้ หรือหากไม่สะดวกในการแช่ท่อนพันธุ์สามารถฉีดพ่นธาตุอาหารดังกล่าวทางใบโดยผสมซิงค์ซัลเฟตในอัตรา 800 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น 2 – 3 ครั้ง ทุก 7 วัน ตั้งแต่มันสำปะหลังเริ่มงอกจนถึง 60 วันหลังปลูก หรือจนกว่ามันสำปะหลังจะไม่แสดงอาการขาดธาตุอาหารดังกล่าว | ในกรณีที่พื้นที่ปลูกเป็นดินด่าง (pH > 7.0) หรือต้นพันธุ์ที่จัดหามาปลูกได้มาจากพื้นที่ที่ขาดธาตุสังกะสี (Zn) เมื่อนำต้นพันธุ์จากแหล่งที่ขาดธาตุอาหารดังกล่าวมาปลูก ต้นมันสำปะหลังมักแสดงอาการขาดธาตุสังกะสีตั้งแต่ต้นยังเล็ก วิธีการแก้ไขทำได้โดยการแช่ในสารละลายซิงค์ซัลเฟต (ZnSO<sub>4</sub>) ที่ความเข้มข้น 2 เปอร์เซ็นต์ โดยผสมซิงค์ซัลเฟตในอัตรา 400 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์นานประมาณ 10 นาที ทั้งนี้สามารถแช่ไปพร้อมกับสารเคมีป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งได้ หรือหากไม่สะดวกในการแช่ท่อนพันธุ์สามารถฉีดพ่นธาตุอาหารดังกล่าวทางใบโดยผสมซิงค์ซัลเฟตในอัตรา 800 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น 2 – 3 ครั้ง ทุก 7 วัน ตั้งแต่มันสำปะหลังเริ่มงอกจนถึง 60 วันหลังปลูก หรือจนกว่ามันสำปะหลังจะไม่แสดงอาการขาดธาตุอาหารดังกล่าว | ||
== '''การแช่ท่อนพันธุ์เพื่อป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง''' == | == '''การแช่ท่อนพันธุ์เพื่อป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง''' <ref name=":0" /> == | ||
หากใช้ท่อนพันธุ์ที่มาจากแหล่งที่มีการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง หรือในพื้นที่ปลูกโดยรอบพบการระบาดของเพลี้ยแป้งอยู่ก่อนแล้ว ควรแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีป้องกันกำจัดแมลงก่อนปลูก สารเคมีที่แนะนำและวิธีการใช้ แสดงใน'''ตารางที่ 1''' | หากใช้ท่อนพันธุ์ที่มาจากแหล่งที่มีการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง หรือในพื้นที่ปลูกโดยรอบพบการระบาดของเพลี้ยแป้งอยู่ก่อนแล้ว ควรแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีป้องกันกำจัดแมลงก่อนปลูก สารเคมีที่แนะนำและวิธีการใช้ แสดงใน'''ตารางที่ 1''' | ||
บรรทัดที่ 35: | บรรทัดที่ 35: | ||
[[ไฟล์:Image s12.png|center|thumb|336x336px|ภาพแสดงการแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีเพื่อป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง]] | [[ไฟล์:Image s12.png|center|thumb|336x336px|ภาพแสดงการแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีเพื่อป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง]] | ||
== '''การเก็บรักษาท่อนพันธุ์''' == | == '''การเก็บรักษาท่อนพันธุ์''' <ref name=":0" /> == | ||
ภายหลังตัดต้นพันธุ์ออกจากแปลง ต้องใช้เวลาในการขุดเก็บเกี่ยวผลผลิตและเตรียมพื้นที่เพื่อปลูกใหม่ในฤดูถัดไป อาจต้องใช้เวลามากกว่า 15 วัน หรืออาจต้องรอให้ฝนตกจนดินมีความชื้นเพียงพอสำหรับปลูกซึ่งอาจต้องเก็บรักษาต้นพันธุ์ไว้นานมากกว่า 2 เดือน การยืดอายุการเก็บรักษาต้นพันธุ์ให้ยาวนานขึ้น สามารถปฏิบัติตามวิธีการดังนี้ | ภายหลังตัดต้นพันธุ์ออกจากแปลง ต้องใช้เวลาในการขุดเก็บเกี่ยวผลผลิตและเตรียมพื้นที่เพื่อปลูกใหม่ในฤดูถัดไป อาจต้องใช้เวลามากกว่า 15 วัน หรืออาจต้องรอให้ฝนตกจนดินมีความชื้นเพียงพอสำหรับปลูกซึ่งอาจต้องเก็บรักษาต้นพันธุ์ไว้นานมากกว่า 2 เดือน การยืดอายุการเก็บรักษาต้นพันธุ์ให้ยาวนานขึ้น สามารถปฏิบัติตามวิธีการดังนี้ | ||
การแก้ไข