การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดิน

รุ่นแก้ไขเมื่อ 07:00, 12 กรกฎาคม 2564 โดย กนกพร ฉัตรไชยศิริ(คุย | ส่วนร่วม) (สร้างหน้าด้วย "พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่มีความอ...")
(ต่าง) ←รุ่นแก้ไขก่อนหน้า | รุ่นแก้ไขล่าสุด (ต่าง) | รุ่นแก้ไขถัดไป→ (ต่าง)

พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เนื่องจากอินทรียวัตถุ และธาตุอาหรภายในดินต่ำ จึงส่งผลให้ผลผลิตมันสำปะหลังต่ำตามไปด้วย จึงจำเป็นต้องมีปรับปรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์พร้อมสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง และใส่ปุ๋ยเพื่อเพิ่มธาตุอาหารช่วยในกรเจริญเติบโตแก่มันสำปะหลัง องค์การอาหารและเกษตรแห่งประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations : FAO) ได้มีกรทดลองเรื่องปุ๋ยเคมีสำหรับมันสำปะหลังเมื่อปี พ.ศ.2523 – 2533 พบว่ามันสำปหลังตอบสนองกับปุ๋ยไนโตรเจน (N) เป็นส่วนใหญ่ ตามด้วยโพแทสเซียม (K) และฟอสฟอรัส (F) (Reinhardt Howeler and Tin Maung Aye, 2015)

  1. หลักการพิจารณาการใส่ปุ๋ยมันสำปะหลัง
  2. การวิเคราะห์เนื้อดินอย่างง่าย
  3. การใส่ปุ๋ยตามเนื้อดินจากการประเมินอย่างง่าย
  4. การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดินตามค่าวิเคราะห์ดิน