ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดิน"

จาก Cassava
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
(ไม่แสดง 6 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 3: บรรทัดที่ 3:
== '''หลักการพิจารณาการใส่ปุ๋ยมันสำปะหลัง''' ==
== '''หลักการพิจารณาการใส่ปุ๋ยมันสำปะหลัง''' ==


=== 1. ชนิดปุ๋ย ===
=== ชนิดปุ๋ย ===
โดยทั่วไปมันสำปะหลังต้องการธาตุปุ๋ยทั้ง 3 ชนิด ซึ่งได้แก่  
โดยทั่วไปมันสำปะหลังต้องการธาตุปุ๋ยทั้ง 3 ชนิด ซึ่งได้แก่  


บรรทัดที่ 38: บรรทัดที่ 38:
ธาตุอาหารที่กล่าวมาข้างต้นนั้น เป็นธาตุอาหารหลักที่สำคัญของมันสำปะหลัง สัดส่วนของธาตุปุ๋ยหลักจะขึ้นอยู่กับสมบัติดินและผลวิเคราะห์ดิน ชนิดปุ๋ยที่แนะนำประกอบด้วย
ธาตุอาหารที่กล่าวมาข้างต้นนั้น เป็นธาตุอาหารหลักที่สำคัญของมันสำปะหลัง สัดส่วนของธาตุปุ๋ยหลักจะขึ้นอยู่กับสมบัติดินและผลวิเคราะห์ดิน ชนิดปุ๋ยที่แนะนำประกอบด้วย


* ปุ๋ยสูตร 15-7-18 หรือ 16-8-16 (เรโช 2:1:2 หรือ 2:1:3 หรือ 3:1:2) ขึ้นอยู่กับราคาต่อหน่วยของเนื้อปุ๋ย ใช้กับดินทั่วไปที่มีปริมาณธาตุปุ๋ยต่ำ หรือดินที่มีการปลูกมันสำปะหลังอย่างต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน เหมาะสำหรับดินทราย ดินร่วนทราย ดินร่วนเหนียว ฯลฯ ปุ๋ยสูตร 15-15-15 แนะนำให้ใช้ในดินเหนียวปนกรวด เพราะมีสมบัติตรึงธาตุฟอสฟอรัส (P-fixation) สูง ทำให้ดึงธาตุฟอสฟอรัสไว้กับดิน พืชดึงไปใช้ได้ยาก จึงต้องใส่ธาตุฟอสฟอรัสมาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* ปุ๋ยสูตร 15-7-18 หรือ 16-8-16 (เรโช 2:1:2 หรือ 2:1:3 หรือ 3:1:2) ขึ้นอยู่กับราคาต่อหน่วยของเนื้อปุ๋ย ใช้กับดินทั่วไปที่มีปริมาณธาตุปุ๋ยต่ำ หรือดินที่มีการปลูกมันสำปะหลังอย่างต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน เหมาะสำหรับดินทราย ดินร่วนทราย ดินร่วนเหนียว ฯลฯ ปุ๋ยสูตร 15-15-15 แนะนำให้ใช้ในดินเหนียวปนกรวด เพราะมีสมบัติตรึงธาตุฟอสฟอรัส (P-fixation) สูง ทำให้ดึงธาตุฟอสฟอรัสไว้กับดิน พืชดึงไปใช้ได้ยาก จึงต้องใส่ธาตุฟอสฟอรัสมาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556<ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref>)


=== 2. อัตราปุ๋ย ===
=== อัตราปุ๋ย ===
อัตราปุ๋ยที่แนะนำโดยทั่วไปจะขึ้นอยู่กับสมบัติดิน และพันธุ์มันสำปะหลัง พันธุ์ที่ตอบสนองต่อปุ๋ยในอัตราสูงได้ดี ได้แก่ พันธุ์ห้วยบง 80  ระยอง 5  ระยอง 7 ระยอง 9 และระยอง 11 อัตราที่แนะนำส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่าง 30-100 กิโลกรัมต่อไร่ หากเป็นการใส่ในอัตราสูงเช่น 100 กิโลกรัมต่อไร่ ควรมีการแบ่งใส่เพื่อลดความเสี่ยงในการสูญเสียปุ๋ยโดยการชะละลายออกจากเขตรากมันสำปะหลังเมื่อมีฝนตกหนัก โดยปกติหากมีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมด้วย ในอัตรา 1-2 ตันต่อไร่ ควรลดปริมาณปุ๋ยเคมีลงมาครึ่งหนึ่งของอัตราที่ใส่ปุ๋ยเคมีชนิดเดียว รายละเอียดอัตราปุ๋ยตามลักษณะดิน มีดังนี้
อัตราปุ๋ยที่แนะนำโดยทั่วไปจะขึ้นอยู่กับสมบัติดิน และพันธุ์มันสำปะหลัง พันธุ์ที่ตอบสนองต่อปุ๋ยในอัตราสูงได้ดี ได้แก่ พันธุ์ห้วยบง 80  ระยอง 5  ระยอง 7 ระยอง 9 และระยอง 11 อัตราที่แนะนำส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่าง 30-100 กิโลกรัมต่อไร่ หากเป็นการใส่ในอัตราสูงเช่น 100 กิโลกรัมต่อไร่ ควรมีการแบ่งใส่เพื่อลดความเสี่ยงในการสูญเสียปุ๋ยโดยการชะละลายออกจากเขตรากมันสำปะหลังเมื่อมีฝนตกหนัก โดยปกติหากมีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมด้วย ในอัตรา 1-2 ตันต่อไร่ ควรลดปริมาณปุ๋ยเคมีลงมาครึ่งหนึ่งของอัตราที่ใส่ปุ๋ยเคมีชนิดเดียว รายละเอียดอัตราปุ๋ยตามลักษณะดิน มีดังนี้


* ดินเหนียว ใส่ในอัตรา 30-40 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่ครั้งเดียว
* ดินเหนียว ใส่ในอัตรา 30-40 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่ครั้งเดียว
* ดินร่วนเหนียว ใส่ในอัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่ครั้งเดียว
* ดินร่วนเหนียว ใส่ในอัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่ครั้งเดียว
* ดินทราย ดินร่วน ดินร่วนปนทราย และดินทรายปนดินร่วน ใส่ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่ แบ่งใส่ 2 ครั้ง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* ดินทราย ดินร่วน ดินร่วนปนทราย และดินทรายปนดินร่วน ใส่ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่ แบ่งใส่ 2 ครั้ง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" />


=== 3. รูปแบบของปุ๋ยและวิธีการที่ใช้ ===
=== รูปแบบของปุ๋ยและวิธีการที่ใช้ ===
การใส่ปุ๋ยมันสำปะหลังมีระยะเวลาการใส่ดังนี้
การใส่ปุ๋ยมันสำปะหลังมีระยะเวลาการใส่ดังนี้


บรรทัดที่ 53: บรรทัดที่ 53:
* กลุ่มดินเนื้อหยาบ ควรแบ่งใส่ 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อมันสำปะหลังอายุได้ 1-2 เดือน และครั้งที่สองควรทิ้งระยะห่างจากครั้งแรกอย่างน้อย 2 เดือน แต่ไม่ควรใส่ปุ๋ยหลังจากมันสำปะหลังอายุเกิน 4 เดือน เนื่องจากรากมันสำปะหลังจะเปลี่ยนจากรากหาอาหารไปเป็นรากสะสมอาหารทำให้ประสิทธิภาพการดูดใช้ปุ๋ยลดน้อยลง
* กลุ่มดินเนื้อหยาบ ควรแบ่งใส่ 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อมันสำปะหลังอายุได้ 1-2 เดือน และครั้งที่สองควรทิ้งระยะห่างจากครั้งแรกอย่างน้อย 2 เดือน แต่ไม่ควรใส่ปุ๋ยหลังจากมันสำปะหลังอายุเกิน 4 เดือน เนื่องจากรากมันสำปะหลังจะเปลี่ยนจากรากหาอาหารไปเป็นรากสะสมอาหารทำให้ประสิทธิภาพการดูดใช้ปุ๋ยลดน้อยลง


         ข้อควรระวังในการใส่ปุ๋ยคือ จะต้องมีการกำจัดวัชพืชก่อนการใส่ปุ๋ยเสมอเพื่อไม่ให้วัชพืชแก่งแย่งปุ๋ยที่ใส่ลงไปจากมันสำปะหลัง ซึ่งจะเป็นสาเหตุให้เกิดการระบาดของวัชพืช (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
         ข้อควรระวังในการใส่ปุ๋ยคือ จะต้องมีการกำจัดวัชพืชก่อนการใส่ปุ๋ยเสมอเพื่อไม่ให้วัชพืชแก่งแย่งปุ๋ยที่ใส่ลงไปจากมันสำปะหลัง ซึ่งจะเป็นสาเหตุให้เกิดการระบาดของวัชพืช (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" />


=== 4. วิธีการใส่ปุ๋ย ===
=== วิธีการใส่ปุ๋ย ===
วิธีการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม ควรใส่ปุ๋ยตรงสันร่อง 2 ข้างลำต้นบริเวณขอบทรงพุ่ม (ขึ้นอยู่กับอายุพืชและขนาดของทรงพุ่ม) โดยการใช้จอบขุดเป็นหลุมขนาดเล็กลึกประมาณ 5-10 เซนติเมตร แล้วใช้ดินกลบ หากไม่กลบอาจทำให้เกิดการสูญเสียปุ๋ยมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์การใส่ปุ๋ยเคมีต้องดำเนินการในขณะที่ดินมีความชื้น และต้องกลบปุ๋ยด้วย การใส่ปุ๋ยรองพื้นมันสำปะหลังไม่ควรทำเพราะรากมันสำปะหลังยังมีปริมาณไม่มากพอที่จะดูดใช้ได้ทัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากมีฝนตกค่อนข้างมากหลังจากการเสียบท่อนพันธุ์ ส่วนการใส่ปุ๋ยด้านข้างร่องอาจจะเป็นการลดค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน โดยการโรยและไถกลบ แต่ไม่เหมาะสมกับมันสำปะหลังพันธุ์แนะนำที่มีระยะปลูกระหว่างต้นประมาณ 80-100 เซนติเมตร เพราะปลายรากพืชไม่สามารถดูดใช้ปุ๋ยได้ทั่วถึง และหากฝนตกแล้วมีการไหลของน้ำในร่องมันสำปะหลังก็จะทำให้เกิดการสูญเสีย สำหรับการหว่านปุ๋ยไม่แนะนำโดยสิ้นเชิงสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
วิธีการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม ควรใส่ปุ๋ยตรงสันร่อง 2 ข้างลำต้นบริเวณขอบทรงพุ่ม (ขึ้นอยู่กับอายุพืชและขนาดของทรงพุ่ม) โดยการใช้จอบขุดเป็นหลุมขนาดเล็กลึกประมาณ 5-10 เซนติเมตร แล้วใช้ดินกลบ หากไม่กลบอาจทำให้เกิดการสูญเสียปุ๋ยมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์การใส่ปุ๋ยเคมีต้องดำเนินการในขณะที่ดินมีความชื้น และต้องกลบปุ๋ยด้วย การใส่ปุ๋ยรองพื้นมันสำปะหลังไม่ควรทำเพราะรากมันสำปะหลังยังมีปริมาณไม่มากพอที่จะดูดใช้ได้ทัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากมีฝนตกค่อนข้างมากหลังจากการเสียบท่อนพันธุ์ ส่วนการใส่ปุ๋ยด้านข้างร่องอาจจะเป็นการลดค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน โดยการโรยและไถกลบ แต่ไม่เหมาะสมกับมันสำปะหลังพันธุ์แนะนำที่มีระยะปลูกระหว่างต้นประมาณ 80-100 เซนติเมตร เพราะปลายรากพืชไม่สามารถดูดใช้ปุ๋ยได้ทั่วถึง และหากฝนตกแล้วมีการไหลของน้ำในร่องมันสำปะหลังก็จะทำให้เกิดการสูญเสีย สำหรับการหว่านปุ๋ยไม่แนะนำโดยสิ้นเชิงสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" />


==== 4.1 วิธีการใช้ปุ๋ยแต่ละชนิดให้กับพืช ====
==== วิธีการใช้ปุ๋ยแต่ละชนิดให้กับพืช ====
มีด้วยกัน 2 ช่องทาง
มีด้วยกัน 2 ช่องทาง


บรรทัดที่ 64: บรรทัดที่ 64:
* การใส่ปุ๋ยน้ำทางใบ พืชสามารถดูดซับธาตุอาหารได้ทางราก เซลล์เนื้อเยื่อของลำต้น และทางใบ การใส่ปุ๋ยกับพืชทางใบเป็นการให้ธาตุอาหารแก่พืชที่เป็นอาหารแบบเร่งด่วนหรือลัดวงจร ดังนั้นปุ๋ยที่สามารถให้ทางใบหรือเซลล์เนื้อเยื่อได้จะต้องสามารถทำให้พืชดูดซับได้โดยง่าย เป็นระบบอะตอมขนาดเล็ก หรืออะตอมมิคนาโน ประโยชน์ของการให้ปุ๋ยทางใบช่วยลดการเสื่อมของดินได้อีกทางหนึ่ง ปุ๋ยน้ำทางใบมีทั้งแบบปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีสกัดเข้มข้น เป็นขบวนการผลิตปุ๋ยทางใบที่เป็นอะตอมมิคนาโน (แยกโมเลกุลของธาตุให้เป็นอะตอมเฉพาะธาตุ) เช่น น้ำ แยกโมเลกุลน้ำได้เป็น ไฮโรเยน และอ๊อกไซน์  
* การใส่ปุ๋ยน้ำทางใบ พืชสามารถดูดซับธาตุอาหารได้ทางราก เซลล์เนื้อเยื่อของลำต้น และทางใบ การใส่ปุ๋ยกับพืชทางใบเป็นการให้ธาตุอาหารแก่พืชที่เป็นอาหารแบบเร่งด่วนหรือลัดวงจร ดังนั้นปุ๋ยที่สามารถให้ทางใบหรือเซลล์เนื้อเยื่อได้จะต้องสามารถทำให้พืชดูดซับได้โดยง่าย เป็นระบบอะตอมขนาดเล็ก หรืออะตอมมิคนาโน ประโยชน์ของการให้ปุ๋ยทางใบช่วยลดการเสื่อมของดินได้อีกทางหนึ่ง ปุ๋ยน้ำทางใบมีทั้งแบบปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีสกัดเข้มข้น เป็นขบวนการผลิตปุ๋ยทางใบที่เป็นอะตอมมิคนาโน (แยกโมเลกุลของธาตุให้เป็นอะตอมเฉพาะธาตุ) เช่น น้ำ แยกโมเลกุลน้ำได้เป็น ไฮโรเยน และอ๊อกไซน์  


==== 4.2 เทคโนโลยีการให้ปุ๋ยในมันสำปะหลัง ====
==== เทคโนโลยีการให้ปุ๋ยในมันสำปะหลัง ====


* ถังหยอดปุ๋ยชนิดมอเตอร์ไฟฟ้า ใช้พ่วงกับแบตเตอรี่รถไถ มีสวิทปิดเปิด ใช้วางบนหางไถ มีเกลียวหมุน หยอดปุ๋ยลงร่องที่ปลูกมันสำปะหลังจากนั้นใบไถจะตามกลบปุ๋ย ทำให้ปุ๋ยอยู่ในร่องที่เป๋นแนวปลูกและอยู่ใต้ผิวดิน เป็นการประหยัดปุ๋ย และทำให้ปุ๋ยไม่ระเหิดจากการโดนแดดเผาจึงทำให้มันสำปะหลังได้รับปุ๋ยมากยิ่งขึ้น เกิดการสูญเสียน้อย เพราะปุ๋ยอยู่ใต้ผิวดิน
* ถังหยอดปุ๋ยชนิดมอเตอร์ไฟฟ้า ใช้พ่วงกับแบตเตอรี่รถไถ มีสวิทปิดเปิด ใช้วางบนหางไถ มีเกลียวหมุน หยอดปุ๋ยลงร่องที่ปลูกมันสำปะหลังจากนั้นใบไถจะตามกลบปุ๋ย ทำให้ปุ๋ยอยู่ในร่องที่เป๋นแนวปลูกและอยู่ใต้ผิวดิน เป็นการประหยัดปุ๋ย และทำให้ปุ๋ยไม่ระเหิดจากการโดนแดดเผาจึงทำให้มันสำปะหลังได้รับปุ๋ยมากยิ่งขึ้น เกิดการสูญเสียน้อย เพราะปุ๋ยอยู่ใต้ผิวดิน[[ไฟล์:Image53.png|thumb|ถังหยอดปุ๋ยชนิดมอเตอร์ไฟฟ้า ภาพจากไร่ปรินซ์โตน ของคุณสุรพันธุ์ (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2564)]]
* ถังหยอดปุ๋ยแบบอนาล็อค คือไม้ใช้ไฟฟ้า จะมีโซ่โยงมถึงลูกกลิ้งเวลารถไถวิ่งลูกกลิ้งจะหมุนลากโซ่ ส่งกำลังไปหมุนเกลียวเฟืองที่อยู่ใต้ถังปุ๋ย ปุ๋ยเม็ดจะหยอดลงมาตามร่องที่รถไถวิ่ง สามารถปรับปริมาณได้มากน้อย ที่ตัวปรับใต้ถัง หลังจากปุ๋ยลงดินจะโดนใบไถกลบปุ๋ยตามหลังเหมือนกัน ทำให้ปุ๋ยอยู่ใต้ดิน
* ถังหยอดปุ๋ยแบบอนาล็อค คือไม่ใช้ไฟฟ้า จะมีโซ่โยงมถึงลูกกลิ้งเวลารถไถวิ่งลูกกลิ้งจะหมุนลากโซ่ ส่งกำลังไปหมุนเกลียวเฟืองที่อยู่ใต้ถังปุ๋ย ปุ๋ยเม็ดจะหยอดลงมาตามร่องที่รถไถวิ่ง สามารถปรับปริมาณได้มากน้อย ที่ตัวปรับใต้ถัง หลังจากปุ๋ยลงดินจะโดนใบไถกลบปุ๋ยตามหลังเหมือนกัน ทำให้ปุ๋ยอยู่ใต้ดิน[[ไฟล์:Image69.png|thumb|ถังหยอดปุ๋ยแบบอนาล็อค (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2554)]]
* ฉีดพ่นปุ๋ยน้ำทางใบโดยใช้แรงงานคนเดินพ่นตามร่องมันสำปะหลัง ช่วยให้มันสำปะหลังเจริญเติบโตได้เร็วคลุมหญ้าได้ไว มีใบกว้างสามารถสังเคราะห์แสงได้ดีขึ้น และวิธีการพ่นปุ๋ยโดยใช้โดรนฉีดพ่นตามพื้นที่ต่างๆในแปลงมันสำปะหลัง (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2554)
* ฉีดพ่นปุ๋ยน้ำทางใบโดยใช้แรงงานคนเดินพ่นตามร่องมันสำปะหลังและโดยใช้โดรน ช่วยให้มันสำปะหลังเจริญเติบโตได้เร็วคลุมหญ้าได้ไว มีใบกว้างสามารถสังเคราะห์แสงได้ดีขึ้น และวิธีการพ่นปุ๋ยโดยใช้โดรนฉีดพ่นตามพื้นที่ต่างๆในแปลงมันสำปะหลัง (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2554)<ref>ฟาร์ฒเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร.  2554.  มันสำปะหลังและการปลูกมันสำปะหลัง. ที่มา: <nowiki>https://www.farmkaset.org/html5/contents.aspx?con_id=00434</nowiki>. วันที่สืบค้น 16 กรกฎาคม 2564.</ref>[[ไฟล์:Image66.png|thumb|อุปกรณ์และวิธีการฉีดพ่นปุ๋ยทางใบโดยใช้แรงงานคน (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2554)]][[ไฟล์:Image33.png|thumb|ภาพการฉีดพ่นปุ๋ยทางใบโดยใช้โดรนฉีดพ่น ]]


=== 5. วิธีการเลือกซื้อปุ๋ย ===
=== วิธีการเลือกซื้อปุ๋ย ===
การเลือกซื้อปุ๋ยให้ได้คุณภาพมีวิธีการเลือกซื้อดังนี้
การเลือกซื้อปุ๋ยให้ได้คุณภาพมีวิธีการเลือกซื้อดังนี้


บรรทัดที่ 79: บรรทัดที่ 79:
# น้ำหนักสุทธิหรือขนาดบรรจุของปุ๋ยเคมีตามระบบเมตริก
# น้ำหนักสุทธิหรือขนาดบรรจุของปุ๋ยเคมีตามระบบเมตริก
# ชื่อผู้ผลิต และที่ตั้งสำนักงานและสถานที่ผลิตปุ๋ยเคมีเพื่อการค้า
# ชื่อผู้ผลิต และที่ตั้งสำนักงานและสถานที่ผลิตปุ๋ยเคมีเพื่อการค้า
# ชื่อทางเคมีและปริมาณของสารเป็นพิษที่อยู่ในปุ๋ยเคมี (ทัศนีย์ และ ประทีป. 2552)
# ชื่อทางเคมีและปริมาณของสารเป็นพิษที่อยู่ในปุ๋ยเคมี (ทัศนีย์ และ ประทีป. 2552)<ref name=":1">ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ และ ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์. 2552.  ธรรมชาติของดินและปุ๋ย. ครั้งที่ 7 หจก. กรครีเอชั่น. กรุงเทพฯ.</ref>


* ตรวจสอบเลขทะเบียนของปุ๋ยที่ขึ้นกับกรมวิชาการเกษตรด้วยแอพเคชั่นของกรมวิชาการเกษตร บนช่องทางเครื่องมือสื่อสาร
* ตรวจสอบเลขทะเบียนของปุ๋ยที่ขึ้นกับกรมวิชาการเกษตรด้วยแอพพลิเคชั่นของกรมวิชาการเกษตร บนช่องทางเครื่องมือสื่อสาร
*ไม่หลงเชื้อคำโฆษณาชวนเชื่อ เกินราคา เกินความจริง เช่น ใช้ซองเดียวข้าวได้เป็นตันๆ
*ไม่หลงเชื้อคำโฆษณาชวนเชื่อ เกินราคา เกินความจริง เช่น ใช้ซองเดียวข้าวได้เป็นตันๆ
*เกษตรกรควรมีความรู้ เพื่อป้องกันการโดนหลอกขายปุ๋ย ขายยา โดยสามารถหาความรู้ได้ทางช่องทางอินเตอร์เน็ต หรือตามหน่วยงานด้านการเกษตร ทราบถึงธาตุอาหารที่พืชต้องการ ระยะเวลาการใส่ปุ๋ย ปริมาณที่พอเหมาะ
*เกษตรกรควรมีความรู้ เพื่อป้องกันการโดนหลอกขายปุ๋ย ขายยา โดยสามารถหาความรู้ได้ทางช่องทางอินเตอร์เน็ต หรือตามหน่วยงานด้านการเกษตร ทราบถึงธาตุอาหารที่พืชต้องการ ระยะเวลาการใส่ปุ๋ย ปริมาณที่พอเหมาะ
บรรทัดที่ 87: บรรทัดที่ 87:
*ไม่หลงเชื่อโฆษณาตามอินเตอร์เน็ต หรือวิทยุได้ง่ายๆ
*ไม่หลงเชื่อโฆษณาตามอินเตอร์เน็ต หรือวิทยุได้ง่ายๆ


== การวิเคราะห์เนื้อดินอย่างง่าย ==
== '''การวิเคราะห์เนื้อดินอย่างง่าย''' ==


=== การวิเคราะห์เนื้อดินด้วยชุดตรวจสอบดิน ===
=== การวิเคราะห์เนื้อดินด้วยชุดตรวจสอบดิน ===
บรรทัดที่ 161: บรรทัดที่ 161:
<nowiki>*</nowiki> ถ้า“ฝ้าขาว” อ่านค่าได้ว่ามีปริมาณ โพแทสเซี่ยมปานกลาง
<nowiki>*</nowiki> ถ้า“ฝ้าขาว” อ่านค่าได้ว่ามีปริมาณ โพแทสเซี่ยมปานกลาง


<nowiki>*</nowiki> ถ้าไม่มีทั้ง“ตะกอน” และ “ฝ้าขาว” อ่านค่าได้ว่ามีปริมาณ โพแทสเซียมต่ำ (ทัศนีย์ และ ประทีป. 2558)
<nowiki>*</nowiki> ถ้าไม่มีทั้ง“ตะกอน” และ “ฝ้าขาว” อ่านค่าได้ว่ามีปริมาณ โพแทสเซียมต่ำ (ทัศนีย์ และ ประทีป. 2558)<ref name=":1" />


== การใส่ปุ๋ยตามเนื้อดินจากการประเมินอย่างง่าย ==
== '''การใส่ปุ๋ยตามเนื้อดินจากการประเมินอย่างง่าย''' ==
ตารางการใส่ปุ๋ยตามเนื้อดินจากการประเมินอย่างง่าย
ตารางการใส่ปุ๋ยตามเนื้อดินจากการประเมินอย่างง่าย
{| class="wikitable"
{| class="wikitable"
บรรทัดที่ 214: บรรทัดที่ 214:
หมายเหตุ สูตรและอัตราการใส่ปุ๋ยเคมี/อินทรีย์ควรใส่ตามค่าวิเคราะห์ดิน
หมายเหตุ สูตรและอัตราการใส่ปุ๋ยเคมี/อินทรีย์ควรใส่ตามค่าวิเคราะห์ดิน


ที่มา: ดัดแปลงจากคำแนะนำการใช้ปุ๋ยกับพืชเศรษฐกิจ (กรมวิชาการเกษตร, 2553)
ที่มา: ดัดแปลงจากคำแนะนำการใช้ปุ๋ยกับพืชเศรษฐกิจ (กรมวิชาการเกษตร, 2553)<ref>กรมวิชาการเกษตร. 2553. คำแนะนำการใช้ปุ๋ยกับพืชเศรษฐกิจ. กรมวิชาการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 122 หน้า.</ref>


== '''การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดินตามค่าวิเคราะห์ดิน''' ==
== '''การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดินตามค่าวิเคราะห์ดิน''' ==


=== 1. พีเอช (pH) ===
=== พีเอช (pH) ===


* '''ระดับปานกลาง (4.5-7.0)''' ไม่มีความจำเป็นใด ๆ ที่จะต้องมีการปรับปรุงเนื่องจากเป็นพิสัยที่
* '''ระดับปานกลาง (4.5-7.0)''' ไม่มีความจำเป็นใด ๆ ที่จะต้องมีการปรับปรุงเนื่องจากเป็นพิสัยที่
บรรทัดที่ 228: บรรทัดที่ 228:
* '''ระดับสูงถึงสูงมาก (7.0-8.0)''' ดินมีความเป็นด่างสูง ควรใช้ปุ๋ยที่มีผลตกค้างเป็นกรด เช่น แอมโมเนียมซัลเฟต หลีกเลี่ยงการใช้วัสดุปรับปรุงดินที่เป็นด่าง ควรมีการฉีดพ่นปุ๋ยธาตุอาหารเสริมทางใบโดยเฉพาะสังกะสี หรือชุบท่อนพันธุ์ก่อนปลูกเพื่อลดปัญหาการขาดธาตุอาหารเสริมของมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* '''ระดับสูงถึงสูงมาก (7.0-8.0)''' ดินมีความเป็นด่างสูง ควรใช้ปุ๋ยที่มีผลตกค้างเป็นกรด เช่น แอมโมเนียมซัลเฟต หลีกเลี่ยงการใช้วัสดุปรับปรุงดินที่เป็นด่าง ควรมีการฉีดพ่นปุ๋ยธาตุอาหารเสริมทางใบโดยเฉพาะสังกะสี หรือชุบท่อนพันธุ์ก่อนปลูกเพื่อลดปัญหาการขาดธาตุอาหารเสริมของมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)


=== 2. '''ปริมาณอินทรียวัตถุ''' ===
=== ปริมาณอินทรียวัตถุ ===


* '''ระดับต่ำมาก (<1.0%)''' ควรมีการจัดการเพิ่มเติมอินทรียวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกโดยเฉพาะมูลไก่แกลบในอัตรา 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งนี้ควรพิจารณาเรื่องการปรับลดปุ๋ยไนโตรเจนลงบ้างเพื่อลดอาการเฝือใบ การใส่กากแป้งจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังในระยะยาวอาจส่งผลต่อการลดลงของค่าพีเอชดิน ซึ่งต้องมีการทดลองว่ามีผลต่อมันสำปะหลังอย่างไร การใช้กากแป้งที่มี C:N Ratio กว้างในปริมาณมาก ต้องระวังการเกิด N-immobilization และอาจทำให้พืชขาด N ได้ โดยเฉพาะในระยะแรก ๆ ของการเติบโตของมันสำปะหลัง ซึ่งเป็นช่วงที่จะมีผลต่อการให้ผลผลิตที่สำคัญมาก และการไถกลบเศษเหลือของพืชลงไปในดินอย่างสม่ำเสมอ หรือการไถกลบพืชปุ๋ยสดจะช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* '''ระดับต่ำมาก (<1.0%)''' ควรมีการจัดการเพิ่มเติมอินทรียวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกโดยเฉพาะมูลไก่แกลบในอัตรา 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งนี้ควรพิจารณาเรื่องการปรับลดปุ๋ยไนโตรเจนลงบ้างเพื่อลดอาการเฝือใบ การใส่กากแป้งจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังในระยะยาวอาจส่งผลต่อการลดลงของค่าพีเอชดิน ซึ่งต้องมีการทดลองว่ามีผลต่อมันสำปะหลังอย่างไร การใช้กากแป้งที่มี C:N Ratio กว้างในปริมาณมาก ต้องระวังการเกิด N-immobilization และอาจทำให้พืชขาด N ได้ โดยเฉพาะในระยะแรก ๆ ของการเติบโตของมันสำปะหลัง ซึ่งเป็นช่วงที่จะมีผลต่อการให้ผลผลิตที่สำคัญมาก และการไถกลบเศษเหลือของพืชลงไปในดินอย่างสม่ำเสมอ หรือการไถกลบพืชปุ๋ยสดจะช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" />
[[ไฟล์:ปุ๋ยพืชสด.png|thumb|การปลูกถั่วพร้าเป็นพืชปุ๋ยสดเพื่อเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุ]]


=== 3. ค่าความเค็ม ===
=== ค่าความเค็ม ===
มันสำปะหลังส่วนใหญ่จะปลูกในที่ดอน ดังนั้น จึงไม่ค่อยพบปัญหา ยกเว้นในบางบริเวณที่ปลูกอยู่ระหว่างรอยต่อของที่นาที่เป็นดินเค็มกับที่ดอน ซึ่งแก้ไขได้โดยการเพิ่มเติมวัสดุอินทรีย์ เช่น แกลบสด หรือเศษเหลือของพืชแล้วไถกลบ ควรหลีกเลี่ยงการใช้มูลไก่สด หรือมูลไก่แกลบ เนื่องจากเป็นวัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ที่มีค่าความเค็มค่อนข้างสูง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
มันสำปะหลังส่วนใหญ่จะปลูกในที่ดอน ดังนั้น จึงไม่ค่อยพบปัญหา ยกเว้นในบางบริเวณที่ปลูกอยู่ระหว่างรอยต่อของที่นาที่เป็นดินเค็มกับที่ดอน ซึ่งแก้ไขได้โดยการเพิ่มเติมวัสดุอินทรีย์ เช่น แกลบสด หรือเศษเหลือของพืชแล้วไถกลบ ควรหลีกเลี่ยงการใช้มูลไก่สด หรือมูลไก่แกลบ เนื่องจากเป็นวัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ที่มีค่าความเค็มค่อนข้างสูง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" />


=== 4. ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ===
=== ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ===


* '''ระดับต่ำมากถึงค่อนข้างต่ำ (<10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ควรใช้ปุ๋ยหลักที่เป็นสูตรเสมอ เช่น ปุ๋ย 15-15-15 หรือ 16-16-16 หรือในเรโช 1:1:1 ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่
* '''ระดับต่ำมากถึงค่อนข้างต่ำ (<10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ควรใช้ปุ๋ยหลักที่เป็นสูตรเสมอ เช่น ปุ๋ย 15-15-15 หรือ 16-16-16 หรือในเรโช 1:1:1 ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่
* '''ระดับปานกลางถึงระดับค่อนข้างสูง (10-25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ควรใช้ปุ๋ยหลักที่มีเรโชปุ๋ยประมาณ 2:1:2 หรือ 2:1:3 เช่นปุ๋ยสูตร 15-7-18 ฯลฯ
* '''ระดับปานกลางถึงระดับค่อนข้างสูง (10-25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ควรใช้ปุ๋ยหลักที่มีเรโชปุ๋ยประมาณ 2:1:2 หรือ 2:1:3 เช่นปุ๋ยสูตร 15-7-18 ฯลฯ
* '''ระดับสูงถึงสูงมาก (>25''' '''มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ใช้ปุ๋ยเคมีที่ไม่มีฟอสฟอรัสในรูปปุ๋ยเดี่ยวไนโตรเจน โพแทสเซียม หรือปุ๋ยผสม (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* '''ระดับสูงถึงสูงมาก (>25''' '''มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ใช้ปุ๋ยเคมีที่ไม่มีฟอสฟอรัสในรูปปุ๋ยเดี่ยวไนโตรเจน โพแทสเซียม หรือปุ๋ยผสม (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" />


=== 5. โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ ===
=== โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ ===


* '''ระดับต่ำมาก (<30 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ซึ่งส่วนใหญ่จะพบในกรณีของดินเนื้อหยาบ ประเภท ดินทรายจัด ควรใช้ปุ๋ยสูตร 13-13-21 หรือใส่ปุ๋ยสูตรเสมอ เช่น สูตร 15-15-15 ฯลฯ
* '''ระดับต่ำมาก (<30 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ซึ่งส่วนใหญ่จะพบในกรณีของดินเนื้อหยาบ ประเภท ดินทรายจัด ควรใช้ปุ๋ยสูตร 13-13-21 หรือใส่ปุ๋ยสูตรเสมอ เช่น สูตร 15-15-15 ฯลฯ
บรรทัดที่ 247: บรรทัดที่ 248:
* '''ระดับปานกลาง (60-90 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ควรใส่ปุ๋ยที่มีเรโชปุ๋ย ประมาณ 2:1:2 หรือ 2:1:3 เช่น ปุ๋ยสูตร 15-7-18 ฯลฯ  
* '''ระดับปานกลาง (60-90 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' ควรใส่ปุ๋ยที่มีเรโชปุ๋ย ประมาณ 2:1:2 หรือ 2:1:3 เช่น ปุ๋ยสูตร 15-7-18 ฯลฯ  


* '''ระดับสูง (>90 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' เนื่องจากมีโพแทสเซียมสูงอยู่แล้ว แนะนำให้ใส่ปุ๋ยสูตรที่มีเรโช ประมาณ 1:1:0 เช่นสูตร 16-20-0 หรือปุ๋ยที่มีเรโช 2:2:1 เช่นปุ๋ยสูตร 16-16-8 ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
* '''ระดับสูง (>90 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)''' เนื่องจากมีโพแทสเซียมสูงอยู่แล้ว แนะนำให้ใส่ปุ๋ยสูตรที่มีเรโช ประมาณ 1:1:0 เช่นสูตร 16-20-0 หรือปุ๋ยที่มีเรโช 2:2:1 เช่นปุ๋ยสูตร 16-16-8 ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" />


=== 6. ธาตุอาหารรอง ===
=== ธาตุอาหารรอง ===
'''(แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ และกำมะถันที่เป็นประโยชน์)'''
'''(แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ และกำมะถันที่เป็นประโยชน์)'''


   ทั้ง 3 ธาตุจะส่งผลต่อผลผลิตมันสำปะหลังเมื่อพบในดินที่ระดับต่ำถึงต่ำมาก อย่างไรตาม หากมีการปรับปรุงดินโดยใช้หินปูนบด หรือสารปูนไลม์อื่น ๆ ก็จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องการขาดแคลเซียม ยิปซัมแก้ปัญหาการขาดแคลเซียม และกำมะถัน โดโลไมต์แก้ปัญหาการขาดแคลเซียม และแมกนีเซียม ปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอกหลาย ๆ ชนิด แก้ปัญหาการขาดแมกนีเซียม และกำมะถัน ทั้งนี้ไม่มีความจำเป็นต้องใส่ธาตุทั้ง 3 เพิ่มเติม โอกาสที่พืชจะขาดแคลเซียมและแมกนีเซียมได้จะเป็นกรณีของดินกรดจัด และดินทราย  
   ทั้ง 3 ธาตุจะส่งผลต่อผลผลิตมันสำปะหลังเมื่อพบในดินที่ระดับต่ำถึงต่ำมาก อย่างไรตาม หากมีการปรับปรุงดินโดยใช้หินปูนบด หรือสารปูนไลม์อื่น ๆ ก็จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องการขาดแคลเซียม ยิปซัมแก้ปัญหาการขาดแคลเซียม และกำมะถัน โดโลไมต์แก้ปัญหาการขาดแคลเซียม และแมกนีเซียม ปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอกหลาย ๆ ชนิด แก้ปัญหาการขาดแมกนีเซียม และกำมะถัน ทั้งนี้ไม่มีความจำเป็นต้องใส่ธาตุทั้ง 3 เพิ่มเติม โอกาสที่พืชจะขาดแคลเซียมและแมกนีเซียมได้จะเป็นกรณีของดินกรดจัด และดินทราย  


ในกรณีที่ดินขาดธาตุอาหารรอง (Ca, Mg และ S) แนะนำให้ใช้ปุ๋ยธาตุอาหารรอง (Ca, Mg, S) เช่น ฟอสโฟยิปซัม (CaSO<sub>4</sub>.2H<sub>2</sub>O+P) ยิปซัม (CaSO<sub>4</sub>.2H<sub>2</sub>O) โดโลไมต์(CaCO<sub>3</sub>.MgCO<sub>3</sub>) ซัล-โป-แม๊กซ์ (MgSO<sub>4</sub>.K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>) โดยการใช้ฟอสโฟยิปซัม ยิปซัม และ โดโลไมต์ จะช่วยปรับปรุงสมบัติของดินที่มีปัญหาทางฟิสิกส์ไปด้วย เช่น ดินที่มีอัตราการแทรกซึมน้ำต่ำ ดินที่เกิดแผ่นแข็งปิดผิว กล่าวคือ มีคุณสมบัติเป็นทั้งปุ๋ยธาตุอาหารรอง และสารปรับปรุงดินไปพร้อม ๆ กัน ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
ในกรณีที่ดินขาดธาตุอาหารรอง (Ca, Mg และ S) แนะนำให้ใช้ปุ๋ยธาตุอาหารรอง (Ca, Mg, S) เช่น ฟอสโฟยิปซัม (CaSO<sub>4</sub>.2H<sub>2</sub>O+P) ยิปซัม (CaSO<sub>4</sub>.2H<sub>2</sub>O) โดโลไมต์(CaCO<sub>3</sub>.MgCO<sub>3</sub>) ซัล-โป-แม๊กซ์ (MgSO<sub>4</sub>.K<sub>2</sub>SO<sub>4</sub>) โดยการใช้ฟอสโฟยิปซัม ยิปซัม และ โดโลไมต์ จะช่วยปรับปรุงสมบัติของดินที่มีปัญหาทางฟิสิกส์ไปด้วย เช่น ดินที่มีอัตราการแทรกซึมน้ำต่ำ ดินที่เกิดแผ่นแข็งปิดผิว กล่าวคือ มีคุณสมบัติเป็นทั้งปุ๋ยธาตุอาหารรอง และสารปรับปรุงดินไปพร้อม ๆ กัน ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" />


=== 7. ธาตุอาหารเสริม ===
=== ธาตุอาหารเสริม ===
โบรอนเป็นธาตุอาหารเสริมที่มันสำปะหลังต้องการในปริมาณน้อยมาก และไม่ค่อยพบรายงานว่ามีอาการขาดเกิดขึ้นในแปลงปลูกมันสำปะหลัง สำหรับธาตุทองแดง แมงกานีส และเหล็ก โดยทั่วไปไม่ค่อยพบอาการขาดในประเทศไทยโดยเฉพาะในดินที่มีพีเอชเป็นกรด ปัญหาที่พบมากที่สุดสำหรับมันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศไทยก็คือ การขาดธาตุสังกะสีโดยเฉพาะเมื่อปลูกในดินทรายจัด ดินด่าง หรือพื้นที่ดินที่ปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน หรือมีการใช้ปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัสในอัตราสูงอย่างต่อเนื่อง การขาดสังกะสีมีผลทำให้มันสำปะหลังยืดต้นช้า พบแถบสีขาว หรือเหลืองบนใบอ่อน ใบอาจย่นหรือเปลี่ยนรูปร่าง อาจพบจุดแผลเซลล์ตายในใบล่าง และอาจรุนแรงทำให้ต้นตาย ส่งผลถึงความอยู่รอดและผลผลิตมันสำปะหลัง แก้ไขโดยการฉีดพ่นปุ๋ยซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรตทางใบที่อัตรา 0.8 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบเมื่อมันสำปะหลังอายุ 1, 2 และ 3 เดือนหลังปลูก หรือชุบท่อนพันธุ์ก่อนปลูกด้วยธาตุสังกะสี (ซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรต) ที่ละลายน้ำในอัตรา 0.4 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เป็นเวลา 15 นาที (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
โบรอนเป็นธาตุอาหารเสริมที่มันสำปะหลังต้องการในปริมาณน้อยมาก และไม่ค่อยพบรายงานว่ามีอาการขาดเกิดขึ้นในแปลงปลูกมันสำปะหลัง สำหรับธาตุทองแดง แมงกานีส และเหล็ก โดยทั่วไปไม่ค่อยพบอาการขาดในประเทศไทยโดยเฉพาะในดินที่มีพีเอชเป็นกรด ปัญหาที่พบมากที่สุดสำหรับมันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศไทยก็คือ การขาดธาตุสังกะสีโดยเฉพาะเมื่อปลูกในดินทรายจัด ดินด่าง หรือพื้นที่ดินที่ปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน หรือมีการใช้ปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัสในอัตราสูงอย่างต่อเนื่อง การขาดสังกะสีมีผลทำให้มันสำปะหลังยืดต้นช้า พบแถบสีขาว หรือเหลืองบนใบอ่อน ใบอาจย่นหรือเปลี่ยนรูปร่าง อาจพบจุดแผลเซลล์ตายในใบล่าง และอาจรุนแรงทำให้ต้นตาย ส่งผลถึงความอยู่รอดและผลผลิตมันสำปะหลัง แก้ไขโดยการฉีดพ่นปุ๋ยซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรตทางใบที่อัตรา 0.8 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบเมื่อมันสำปะหลังอายุ 1, 2 และ 3 เดือนหลังปลูก หรือชุบท่อนพันธุ์ก่อนปลูกด้วยธาตุสังกะสี (ซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรต) ที่ละลายน้ำในอัตรา 0.4 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เป็นเวลา 15 นาที (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" />
[[ไฟล์:ขาดธาตุ.png|thumb|สภาพของต้นมันสำปะหลังที่ขาดธาตุสังกะสี]]
[[ไฟล์:สภาพแปลงมัน.png|thumb|สภาพแปลงมันสำปะหลังที่ขาดธาตุสังกะสี]]


=== 8. การปรับปรุงดินโดยชีววิธี ===
=== การปรับปรุงดินโดยชีววิธี ===
การปรับปรุงดินเป็นการรักษาคุณภาพดิน เพื่อให้คงสภาพความอุดมสมบูรณ์ เพื่อใช้สำหรับเพาะปลูกได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงต้องมีการปรับปรุงอย่างถูกวิธี ซึ่งการปรับปรุงดินนั้นมีหลายวิธี ได้แก่ การปลูกพืชแซม การคลุมดิน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชคลุมดิน การใช้ปุ๋ยพืชสด การปลูกพืชบนพื้นที่ระหว่างแถวไม้ยืนต้น และการใส่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก วิธีการเหล่านี้ช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน ปรับปรุงโครงสร้างดิน ซึ่งสามารถใช้ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีได้
การปรับปรุงดินเป็นการรักษาคุณภาพดิน เพื่อให้คงสภาพความอุดมสมบูรณ์ เพื่อใช้สำหรับเพาะปลูกได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงต้องมีการปรับปรุงอย่างถูกวิธี ซึ่งการปรับปรุงดินนั้นมีหลายวิธี ได้แก่ การปลูกพืชแซม การคลุมดิน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชคลุมดิน การใช้ปุ๋ยพืชสด การปลูกพืชบนพื้นที่ระหว่างแถวไม้ยืนต้น และการใส่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก วิธีการเหล่านี้ช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน ปรับปรุงโครงสร้างดิน ซึ่งสามารถใช้ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีได้


บรรทัดที่ 272: บรรทัดที่ 275:


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
*

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 06:18, 2 ธันวาคม 2564

พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เนื่องจากอินทรียวัตถุ และธาตุอาหรภายในดินต่ำ จึงส่งผลให้ผลผลิตมันสำปะหลังต่ำตามไปด้วย จึงจำเป็นต้องมีปรับปรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์พร้อมสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง และใส่ปุ๋ยเพื่อเพิ่มธาตุอาหารช่วยในกรเจริญเติบโตแก่มันสำปะหลัง องค์การอาหารและเกษตรแห่งประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations : FAO) ได้มีกรทดลองเรื่องปุ๋ยเคมีสำหรับมันสำปะหลังเมื่อปี พ.ศ.2523 – 2533 พบว่ามันสำปหลังตอบสนองกับปุ๋ยไนโตรเจน (N) เป็นส่วนใหญ่ ตามด้วยโพแทสเซียม (K) และฟอสฟอรัส (F) (Reinhardt Howeler and Tin Maung Aye, 2015)

หลักการพิจารณาการใส่ปุ๋ยมันสำปะหลัง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ชนิดปุ๋ย[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

โดยทั่วไปมันสำปะหลังต้องการธาตุปุ๋ยทั้ง 3 ชนิด ซึ่งได้แก่

ไนโตรเจน (N)[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • ในสภาพดินเกือบทุกชนิด การใส่ปุ๋ยไนโตรเจนปริมาณ 12.8 – 19.2 กก./ไร่ ช่วยเพิ่มผลผลิตให้แก่มันสำปะหลังได้ สามารถใส่ปุ๋ยครั้งเดียวตอนปลูก หรือ 30 วันหลังจากการปลูก
  • ในสภาพดินที่เป็นดินทราย ระบายน้ำได้ดี ควรมีการแบ่งการใส่ปุ๋ยไนโตรเจนเป็น 2 ครั้ง คือ ใส่ครั้งแรกครึ่งหนึ่งพร้อมการปลูก ครั้งที่ 2 เมื่อมันสำปะหลังมีอายุครบ 1 – 2 เดือน หรือ แบ่งใส่ 3 ครั้ง โดยครั้งแรกใช้ 1/3 ของจำนวนปุ๋ยไนโตรเจนทั้งหมดที่ใช้สำหรับการปลูก ครั้งที่ 2 ใช้ 1/3 เมื่อมันสำปะหลังอายุครบ 30 วัน และครั้งที่ 3 ใช้อีก 1/3 เมื่ออายุครบ 60 วัน
ข้อควรระวัง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  • ปุ๋ยไนโตรเจนละลายได้ดีในสารละลายในดิน ควรใช้จอบขุดร่องข้างๆ สำหรับใส่ปุ๋ยจากนั้นใช้ดินกลบ ไม่ควรปล่อยให้ปุ๋ยไนโตรเจนทิ้งค้างอยู่บนผิวดิน เนื่องจากปุ๋ยส่วนหนึ่งจะระเหย หรือถูกน้ำชะล้างไป

ฟอสฟอรัส (P)[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

มันสำปะหลังสามารถเติบโตได้ดีในสภาพดินที่มีปริมาณฟอสฟอรัสต่ำ ซึ่งการขาดฟอสฟอรัสไม่ใช่ปัญหาหลักของการเจริญเติบโตของมันสำปะหลัง ซึ่งการตอบสนองต่อปุ๋ยฟอสฟอรัสไม่เพียงแต่ขึ้นอยู่กับปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ในดิน ยังขึ้นอยู่กับปริมาณไมโคไรซาในดิน และพันธุ์มันสำปะหลังด้วย

การใช้ปุ๋ยฟอสฟอรัส (P)[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  • มันสำปะหลังสามารถเจริญเติบโตได้ดีในดินที่มีฟอสฟอรัสต่ำ
  • ในดินที่ขาดปริมาณฟอสฟอรัสอย่างรุนแรง มีปริมาณฟอสฟอรัสที่พืชสามารถนำไปใช้ได้น้อยกว่า 4 พีพีเอ็ม (ppm) ซึ่งมันสำปะหลังจะตอบสนองต่อปุ๋ยฟอสฟอรัสที่ใส่ประมาณ 16-32 กก. P2O2/ไร่ ในช่วงแรก แต่หลังจาก 1 – 2 ปีแรกควรลดอัตราลงเป็น 6.4 – 8 กก. P2O2/ไร่ เนื่องจากจะมีปริมาณฟอสฟอรัสค้างอยู่ในดิน
  • ปุ๋ยฟอสฟอรัสที่ดีจะละลายน้ำได้ดี เช่น ซิงเกิ้ล - หรือ ทริปเปิ้ล – ซุปเปอร์ฟอสเฟต และโมโน – หรือ ได – แอมโมเนียมฟอสเฟต (ซึ่งมี N ประกอบด้วย) ควรใส่โรยเป็นแถบใกล้ๆ ท่อนพันธุ์ หรือต้นมันสำปะหลัง จากนั้นพรวนดินกลบ
  • ปุ๋ยฟอสฟอรัสที่ละลายได้น้อยเรียกว่า เบสิคสะแลค วิธีใช้จะต้องหว่านบนแปลงให้ถั่ว จากนั้นไถคลุกเคล้าลงไปในดินก่อนปลูกมันสำปะหลัง แหล่งปุ๋ยชนิดนี้จะมีแคลเซียม (Ca) ปริมาณมาก จะช่วยลดความเป็นกรดของดินลง (เพิ่มค่า pH)
  • ควรใส่ปุ๋ยฟอสฟอรัสทั้งหมดครั้งเดียวในขณะที่ปลูก หรือหลังจากปลูกมันสำปะหลังแล้ว 30 วัน เนื่องจากการแบ่งใส่ไม่ค่อยมีประสิทธิภาพ

โพแทสเซียม (K)[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

การใช้ปุ๋ยโพแทสเซียมช่วยเพิ่มปริมาณผลผลิต และปริมาณการสะสมของแป้งในหัวมันสำปะหลัง โดยทั่วไปปริมาณแป้งจะสะสมเพิ่มขึ้นเมื่อใส่ปุ๋ยโพแทสเซียมจนถึงระดับ 12.8 กก. K2O/ไร่ จากนั้นปริมาณแป้งจะลดลงเมื่อใช้อัตราสูงขึ้นไปกว่านี้

การใส่ปุ๋ยโพแทสเซียมจะลดปริมาณไซยาไนด์หัวมันสำปะหลัง อีกทั้งช่วยเพิ่มต้านทานโรค และแมลง ปริมาณโพแทสเซียมที่เพียงพอ ยังช่วยในการเจริญเติบโตของลำต้น และคุณภาพของท่อนพันธุ์ด้วย อาการขาดแคลนปุ๋ยโพแทสเซียมมักจะเกิดในดินที่มีเนื้อโปร่งบาง เช่นดินร่วนทราย ดินทราย

การใช้ปุ๋ยโพแทสเซียม (K)[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
  • ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการใส่โพแทสเซียมที่เหมาะสมที่สุดคือใส่ในขั้นตอนการปลูก หรือหลังจากนั้น 30 วัน โดยโรยเป็นแถบข้างท่อนพันธุ์ หรือต้นมันสำปะหลัง จากนั้นพรวนดินกลบ
  • การป้องกันไม่ให้ปุ๋ยโพแทสเซียมหมดไป แนะนำให้ใส่ในปริมาณ 12.8 – 19.2 กก. K2O/ไร่ เพื่อชดเชยปุ๋ยโพแทสเซียมที่มันสำปะหลังนำไปผลิตเป็นหัว

ธาตุอาหารที่กล่าวมาข้างต้นนั้น เป็นธาตุอาหารหลักที่สำคัญของมันสำปะหลัง สัดส่วนของธาตุปุ๋ยหลักจะขึ้นอยู่กับสมบัติดินและผลวิเคราะห์ดิน ชนิดปุ๋ยที่แนะนำประกอบด้วย

  • ปุ๋ยสูตร 15-7-18 หรือ 16-8-16 (เรโช 2:1:2 หรือ 2:1:3 หรือ 3:1:2) ขึ้นอยู่กับราคาต่อหน่วยของเนื้อปุ๋ย ใช้กับดินทั่วไปที่มีปริมาณธาตุปุ๋ยต่ำ หรือดินที่มีการปลูกมันสำปะหลังอย่างต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน เหมาะสำหรับดินทราย ดินร่วนทราย ดินร่วนเหนียว ฯลฯ ปุ๋ยสูตร 15-15-15 แนะนำให้ใช้ในดินเหนียวปนกรวด เพราะมีสมบัติตรึงธาตุฟอสฟอรัส (P-fixation) สูง ทำให้ดึงธาตุฟอสฟอรัสไว้กับดิน พืชดึงไปใช้ได้ยาก จึงต้องใส่ธาตุฟอสฟอรัสมาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556[1])

อัตราปุ๋ย[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

อัตราปุ๋ยที่แนะนำโดยทั่วไปจะขึ้นอยู่กับสมบัติดิน และพันธุ์มันสำปะหลัง พันธุ์ที่ตอบสนองต่อปุ๋ยในอัตราสูงได้ดี ได้แก่ พันธุ์ห้วยบง 80  ระยอง 5  ระยอง 7 ระยอง 9 และระยอง 11 อัตราที่แนะนำส่วนใหญ่จะอยู่ระหว่าง 30-100 กิโลกรัมต่อไร่ หากเป็นการใส่ในอัตราสูงเช่น 100 กิโลกรัมต่อไร่ ควรมีการแบ่งใส่เพื่อลดความเสี่ยงในการสูญเสียปุ๋ยโดยการชะละลายออกจากเขตรากมันสำปะหลังเมื่อมีฝนตกหนัก โดยปกติหากมีการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมด้วย ในอัตรา 1-2 ตันต่อไร่ ควรลดปริมาณปุ๋ยเคมีลงมาครึ่งหนึ่งของอัตราที่ใส่ปุ๋ยเคมีชนิดเดียว รายละเอียดอัตราปุ๋ยตามลักษณะดิน มีดังนี้

  • ดินเหนียว ใส่ในอัตรา 30-40 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่ครั้งเดียว
  • ดินร่วนเหนียว ใส่ในอัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ใส่ครั้งเดียว
  • ดินทราย ดินร่วน ดินร่วนปนทราย และดินทรายปนดินร่วน ใส่ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่ แบ่งใส่ 2 ครั้ง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)[1]

รูปแบบของปุ๋ยและวิธีการที่ใช้[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

การใส่ปุ๋ยมันสำปะหลังมีระยะเวลาการใส่ดังนี้

  • กลุ่มดินเนื้อปานกลางและเนื้อละเอียด ควรใส่ครั้งเดียว เมื่อมันสำปะหลังอายุประมาณ 1-2 เดือนหลังปลูก ให้พิจารณาจากขนาดของทรงพุ่ม โดยควรมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของทรงพุ่มประมาณ 25-30 เซนติเมตร ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์ของดิน ความชื้น และการเตรียมดินว่ามีผลทำให้การเจริญเติบโตรวดเร็วเพียงใด
  • กลุ่มดินเนื้อหยาบ ควรแบ่งใส่ 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อมันสำปะหลังอายุได้ 1-2 เดือน และครั้งที่สองควรทิ้งระยะห่างจากครั้งแรกอย่างน้อย 2 เดือน แต่ไม่ควรใส่ปุ๋ยหลังจากมันสำปะหลังอายุเกิน 4 เดือน เนื่องจากรากมันสำปะหลังจะเปลี่ยนจากรากหาอาหารไปเป็นรากสะสมอาหารทำให้ประสิทธิภาพการดูดใช้ปุ๋ยลดน้อยลง

         ข้อควรระวังในการใส่ปุ๋ยคือ จะต้องมีการกำจัดวัชพืชก่อนการใส่ปุ๋ยเสมอเพื่อไม่ให้วัชพืชแก่งแย่งปุ๋ยที่ใส่ลงไปจากมันสำปะหลัง ซึ่งจะเป็นสาเหตุให้เกิดการระบาดของวัชพืช (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)[1]

วิธีการใส่ปุ๋ย[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

วิธีการใส่ปุ๋ยที่เหมาะสม ควรใส่ปุ๋ยตรงสันร่อง 2 ข้างลำต้นบริเวณขอบทรงพุ่ม (ขึ้นอยู่กับอายุพืชและขนาดของทรงพุ่ม) โดยการใช้จอบขุดเป็นหลุมขนาดเล็กลึกประมาณ 5-10 เซนติเมตร แล้วใช้ดินกลบ หากไม่กลบอาจทำให้เกิดการสูญเสียปุ๋ยมากกว่า 50 เปอร์เซ็นต์การใส่ปุ๋ยเคมีต้องดำเนินการในขณะที่ดินมีความชื้น และต้องกลบปุ๋ยด้วย การใส่ปุ๋ยรองพื้นมันสำปะหลังไม่ควรทำเพราะรากมันสำปะหลังยังมีปริมาณไม่มากพอที่จะดูดใช้ได้ทัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากมีฝนตกค่อนข้างมากหลังจากการเสียบท่อนพันธุ์ ส่วนการใส่ปุ๋ยด้านข้างร่องอาจจะเป็นการลดค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน โดยการโรยและไถกลบ แต่ไม่เหมาะสมกับมันสำปะหลังพันธุ์แนะนำที่มีระยะปลูกระหว่างต้นประมาณ 80-100 เซนติเมตร เพราะปลายรากพืชไม่สามารถดูดใช้ปุ๋ยได้ทั่วถึง และหากฝนตกแล้วมีการไหลของน้ำในร่องมันสำปะหลังก็จะทำให้เกิดการสูญเสีย สำหรับการหว่านปุ๋ยไม่แนะนำโดยสิ้นเชิงสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)[1]

วิธีการใช้ปุ๋ยแต่ละชนิดให้กับพืช[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

มีด้วยกัน 2 ช่องทาง

  • การใส่ปุ๋ยทางดิน มีปุ๋ยที่ใส่ทางดินเป็นแบบเม็ดใช้หว่างเป็นธาตุอาหารหลักของพืชและธาตุอาหารรองของพืช หรือแบบน้ำใช้ผสมรดให้แก่พืช เช่นปุ๋ยเคมีกระสอบ ปุ๋ยอินทรีย์กระสอบ ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ยชีวภาพ
  • การใส่ปุ๋ยน้ำทางใบ พืชสามารถดูดซับธาตุอาหารได้ทางราก เซลล์เนื้อเยื่อของลำต้น และทางใบ การใส่ปุ๋ยกับพืชทางใบเป็นการให้ธาตุอาหารแก่พืชที่เป็นอาหารแบบเร่งด่วนหรือลัดวงจร ดังนั้นปุ๋ยที่สามารถให้ทางใบหรือเซลล์เนื้อเยื่อได้จะต้องสามารถทำให้พืชดูดซับได้โดยง่าย เป็นระบบอะตอมขนาดเล็ก หรืออะตอมมิคนาโน ประโยชน์ของการให้ปุ๋ยทางใบช่วยลดการเสื่อมของดินได้อีกทางหนึ่ง ปุ๋ยน้ำทางใบมีทั้งแบบปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยเคมีสกัดเข้มข้น เป็นขบวนการผลิตปุ๋ยทางใบที่เป็นอะตอมมิคนาโน (แยกโมเลกุลของธาตุให้เป็นอะตอมเฉพาะธาตุ) เช่น น้ำ แยกโมเลกุลน้ำได้เป็น ไฮโรเยน และอ๊อกไซน์

เทคโนโลยีการให้ปุ๋ยในมันสำปะหลัง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • ถังหยอดปุ๋ยชนิดมอเตอร์ไฟฟ้า ใช้พ่วงกับแบตเตอรี่รถไถ มีสวิทปิดเปิด ใช้วางบนหางไถ มีเกลียวหมุน หยอดปุ๋ยลงร่องที่ปลูกมันสำปะหลังจากนั้นใบไถจะตามกลบปุ๋ย ทำให้ปุ๋ยอยู่ในร่องที่เป๋นแนวปลูกและอยู่ใต้ผิวดิน เป็นการประหยัดปุ๋ย และทำให้ปุ๋ยไม่ระเหิดจากการโดนแดดเผาจึงทำให้มันสำปะหลังได้รับปุ๋ยมากยิ่งขึ้น เกิดการสูญเสียน้อย เพราะปุ๋ยอยู่ใต้ผิวดิน
    ถังหยอดปุ๋ยชนิดมอเตอร์ไฟฟ้า ภาพจากไร่ปรินซ์โตน ของคุณสุรพันธุ์ (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2564)
  • ถังหยอดปุ๋ยแบบอนาล็อค คือไม่ใช้ไฟฟ้า จะมีโซ่โยงมถึงลูกกลิ้งเวลารถไถวิ่งลูกกลิ้งจะหมุนลากโซ่ ส่งกำลังไปหมุนเกลียวเฟืองที่อยู่ใต้ถังปุ๋ย ปุ๋ยเม็ดจะหยอดลงมาตามร่องที่รถไถวิ่ง สามารถปรับปริมาณได้มากน้อย ที่ตัวปรับใต้ถัง หลังจากปุ๋ยลงดินจะโดนใบไถกลบปุ๋ยตามหลังเหมือนกัน ทำให้ปุ๋ยอยู่ใต้ดิน
    ถังหยอดปุ๋ยแบบอนาล็อค (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2554)
  • ฉีดพ่นปุ๋ยน้ำทางใบโดยใช้แรงงานคนเดินพ่นตามร่องมันสำปะหลังและโดยใช้โดรน ช่วยให้มันสำปะหลังเจริญเติบโตได้เร็วคลุมหญ้าได้ไว มีใบกว้างสามารถสังเคราะห์แสงได้ดีขึ้น และวิธีการพ่นปุ๋ยโดยใช้โดรนฉีดพ่นตามพื้นที่ต่างๆในแปลงมันสำปะหลัง (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2554)[2]
    อุปกรณ์และวิธีการฉีดพ่นปุ๋ยทางใบโดยใช้แรงงานคน (ฟาร์มเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร, 2554)
    ภาพการฉีดพ่นปุ๋ยทางใบโดยใช้โดรนฉีดพ่น

วิธีการเลือกซื้อปุ๋ย[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

การเลือกซื้อปุ๋ยให้ได้คุณภาพมีวิธีการเลือกซื้อดังนี้

  • ตามพระราชบัญญัติปุ๋ยปี พ.ศ. 2518 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติปุ๋ย (ฉบับ 2) ปี พ.ศ. 2550 ได้กำหนดให้ผู้ประกอบการเขียนข้อความที่สำคัญต่างเป็นภาษาไทย หรือที่เรียกว่า “ฉลากปุ๋ย” ไว้ที่กระสอบปุ๋ยให้เด่นชัด คือ
  1. ชื่อทางการค้าและมีคำว่าปุ๋ยเคมี ปุ๋ยเคมีมาตรฐาน หรือปุ๋ยอินทรีย์เคมีแล้วแต่กรณ
  2. เครื่องหมายการค้าหรือเครื่องหมายอื่นใด แสดงที่ภาชนะหรือหีบห่อบรรจุปุ๋ยเคมี
  3. ปริมาณธาตุอาหารรับรอง
  4. น้ำหนักสุทธิหรือขนาดบรรจุของปุ๋ยเคมีตามระบบเมตริก
  5. ชื่อผู้ผลิต และที่ตั้งสำนักงานและสถานที่ผลิตปุ๋ยเคมีเพื่อการค้า
  6. ชื่อทางเคมีและปริมาณของสารเป็นพิษที่อยู่ในปุ๋ยเคมี (ทัศนีย์ และ ประทีป. 2552)[3]
  • ตรวจสอบเลขทะเบียนของปุ๋ยที่ขึ้นกับกรมวิชาการเกษตรด้วยแอพพลิเคชั่นของกรมวิชาการเกษตร บนช่องทางเครื่องมือสื่อสาร
  • ไม่หลงเชื้อคำโฆษณาชวนเชื่อ เกินราคา เกินความจริง เช่น ใช้ซองเดียวข้าวได้เป็นตันๆ
  • เกษตรกรควรมีความรู้ เพื่อป้องกันการโดนหลอกขายปุ๋ย ขายยา โดยสามารถหาความรู้ได้ทางช่องทางอินเตอร์เน็ต หรือตามหน่วยงานด้านการเกษตร ทราบถึงธาตุอาหารที่พืชต้องการ ระยะเวลาการใส่ปุ๋ย ปริมาณที่พอเหมาะ
  • ไม่หลงเชื่อคำพูดของของเกษตรกรผู้ปลูกด้วยกันง่ายๆ อาจเพราะการบอกว่าใช้ดีอาจหมายถึงเป็นตัวแทนขาย หรือได้รับผลประโยชน์
  • ไม่หลงเชื่อโฆษณาตามอินเตอร์เน็ต หรือวิทยุได้ง่ายๆ

การวิเคราะห์เนื้อดินอย่างง่าย[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

การวิเคราะห์เนื้อดินด้วยชุดตรวจสอบดิน[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

   วิธีวิเคราะห์ดิน ด้วยชุดวิเคราะห์ของมูลนิธิพลังนิเวศ มก.

  • ทำการบดตัวอย่างดินให้ละเอียดพอประมาณ ด้วยการทุบ ตำ หรือบดด้วยขวดแก้ว

ตรวจสอบค่าความเป็นกรดด่าง (pH)[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • ใส่ดินในถาดหลุม ครึ่งหลุม
  • หยดน้ำยาเบอร์ 10 ทีละหยดจนดินอิ่มตัว แล้วเติมลงอีก 2 หยด
  • 1 นาที อ่านค่าโดยเทียบสีมาตรฐาน

หมายเหตุ : ดินนา pH ต่ำกว่า 4.5 ไม่ต้องเติมปูน (เมื่อปล่อยน้ำเข้า pH จะเพิ่มขึ้น)

            วิเคราะห์ธาตุอาหาร

เตรียมน้ำยาสกัด[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • ตักดินด้วยช้อนตวง 1 ช้อนพูน เคาะช้อนสองถึงสามครั้งกับมือแล้วใช้เหล็กปาดให้เสมอขอบ
  • ใส่ดินลงในขวดสกัด
  • เตรียมน้ำยาสกัด เบอร์ 1 20 ม.ล (ห้ามขาด ห้ามเกิน) ใส่ภาชนะ
  • เทน้ำยาสกัดลงในขวดที่มีดิน แล้วเขย่า 5 นาที
  • เทน้ำสกัดลงในกรวยที่มีแผ่นกรองใส่ขวดรองรับ รอจนแห้

    “ได้น้ำสกัดดินที่พร้อมนำไปสกัดหาธาตุอาหาร”    

วิเคราะห์ แอมโมเนี่ยม ไนโตรเจน NH4+N[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • ดูดน้ำที่กรองได้จากขวดรองรับ  2.5 ม.ล ใส่หลอดแก้ว
  • เติมผงเบอร์ 2 หนึ่งช้อนเล็ก
  • เติมน้ำยาเบอร์ 3  5 หยด
  • ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง เขย่าให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 5 นาที
  • อ่านค่าโดยการเทียบแผ่นสีมาตรฐาน “แอมโมเนียม”

หมายเหตุ ถ้าโทนสีเป็นสีฟ้า ใช้แผ่นเทียบสีแผ่นที่ 1

           ถ้าโทนสีเป็นสีเขียว ใช้แผ่นเทียบสีแผ่นที่ 2

วิเคราะห์ ไนเทรต ไนโตรเจน NO3- N[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • ดูดน้ำที่กรองได้จากขวดรองรับ 2.5 ม.ล ใส่ในหลอดแก้ว
  • เติมน้ำยาเบอร์ 4  0.5 ม.ล
  • เติมผงเบอร์ 5 หนึ่งช้อนเล็ก
  • ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง เขย่าให้เข้ากันทิ้งไว้ 5 นาที
  • อ่านค่าไนเทรต โดยการเทียบแผ่นสีมาตรฐาน

วิเคราะห์ ฟอสฟอรัส P2O5 (Phosphorus Pentoxide)[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • ดูดน้ำกรองได้จากขวดรองรับ 2.5 ม.ล ใส่ในหลอดแก้ว
  • เติมน้ำยาเบอร์6 0.5 ม.ล
  • เติมผงเบอร์7 ครึ่งช้อนเล็ก
  • ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง เขย่าให้เข้ากัน ทิ้งไว้ 5 นาที
  • อ่านค่าฟอสฟอรัส โดยเปรียบเทียบแผ่นสีมาตรฐาน

วิเคราะห์ โพแทสเซี่ยม K2O (Potassium Oxide)[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

     เตรียมน้ำยา เบอร์9 โดยการดูดน้ำกรองจากขวด 3 ม.ล ใส่ลงในผง เบอร์9 เขย่าให้เข้ากัน 5 นาที จได้สารละลายสีน้ำตาลส้ม

    *เมื่อใช้เหลือ เก็บในตู้เย็นอุณหภูมิช่องปกติ สามารถเก็บได้นาน 3 เดือน

    *หากเก็บในอุณหภูมิห้องปกติ สามารถเก็บได้นาน 7 วัน

    *ส่วนผงเคมีที่ยังไม่ผสมน้ำยา สามารถเก็บไว้ได้นาน

  • ดูดน้ำยาที่กรองได้จากขวดรองรับ 2.5 ม.ล
  • เติมน้ำยาเบอร์ 8 2.0 ม.ล (ห้ามเขย่า)
  • เติมน้ำยา 9A 1 หยด
  • เติมน้ำยาเบอร์ 9  2 หยด (ห้ามเกิน)
  • ปิดฝาหลอดแก้วด้วยจุกยาง เขย่าให้เข้ากัน แล้วอ่านค่า “ทันที”

*ถ้ามี “ตะกอน” อ่านค่าได้ว่ามีปริมาณ โพแทสเซี่ยมสูง

* ถ้า“ฝ้าขาว” อ่านค่าได้ว่ามีปริมาณ โพแทสเซี่ยมปานกลาง

* ถ้าไม่มีทั้ง“ตะกอน” และ “ฝ้าขาว” อ่านค่าได้ว่ามีปริมาณ โพแทสเซียมต่ำ (ทัศนีย์ และ ประทีป. 2558)[3]

การใส่ปุ๋ยตามเนื้อดินจากการประเมินอย่างง่าย[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

ตารางการใส่ปุ๋ยตามเนื้อดินจากการประเมินอย่างง่าย

การจัดการ ดินทราย/

ดินทรายปนดินร่วน

ดินร่วนปนทราย ดินร่วนเหนียว ดินเหนียว
สูตรปุ๋ย ·   15-7-18 ·   15-7-18 ·   15-7-18 ·   15-15-15
อัตรา (กก./ไร่) ·   50-100 ·   50-100 ·   50 ·   30-40
วิธีการใส่ ·   โรยข้างแถวแล้วใช้

รถไถกลบ

·   โรยข้างแถวแล้วใช้รถไถกลบ ·   โรยข้างแถวแล้วใช้รถไถกลบ ·   โรยข้างแถวแล้วใช้รถไถกลบ
จำนวนครั้งในการใส่ ·   2 ·   2 ·   1 ·   1
ช่วงเวลาการใส่ ·   1 และ 3 เดือนหลังปลูก ·   1 และ 3 เดือนหลังปลูก ·   1-2 เดือนหลังปลูก ·   1-2 เดือนหลังปลูก
อัตราการใส่ปุ๋ยอินทรีย์ (มูลไก่แกลบ: กิโลกรัม) ·   400-800 ·   400-800 ·   400 ·   400

หมายเหตุ สูตรและอัตราการใส่ปุ๋ยเคมี/อินทรีย์ควรใส่ตามค่าวิเคราะห์ดิน

ที่มา: ดัดแปลงจากคำแนะนำการใช้ปุ๋ยกับพืชเศรษฐกิจ (กรมวิชาการเกษตร, 2553)[4]

การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดินตามค่าวิเคราะห์ดิน[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

พีเอช (pH)[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • ระดับปานกลาง (4.5-7.0) ไม่มีความจำเป็นใด ๆ ที่จะต้องมีการปรับปรุงเนื่องจากเป็นพิสัยที่

มันสำปะหลังเจริญเติบโตได้ดี

  • ระดับต่ำถึงต่ำมาก (3.5-4.5) ดินมีความเป็นกรดสูง ควรมีการยกระดับพีเอชโดยการใส่ปูน เช่น หินปูนบด โดโลไมต์ หรือวัสดุปรับปรุงดินที่มีฤทธิ์เป็นด่างอื่น ๆ รวมถึงมูลไก่ ควรหลีกเลี่ยงการใช้ปุ๋ยเคมีที่มีผลตกค้างเป็นกรด เช่น ปุ๋ยไนโตรเจนที่อยู่ในรูปแอมโมเนียมไนโตรเจน เช่น แอมโมเนียมซัลเฟต และฟอสฟอรัสอาจใช้ในรูปของหินฟอสเฟต
  • ระดับสูงถึงสูงมาก (7.0-8.0) ดินมีความเป็นด่างสูง ควรใช้ปุ๋ยที่มีผลตกค้างเป็นกรด เช่น แอมโมเนียมซัลเฟต หลีกเลี่ยงการใช้วัสดุปรับปรุงดินที่เป็นด่าง ควรมีการฉีดพ่นปุ๋ยธาตุอาหารเสริมทางใบโดยเฉพาะสังกะสี หรือชุบท่อนพันธุ์ก่อนปลูกเพื่อลดปัญหาการขาดธาตุอาหารเสริมของมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)

ปริมาณอินทรียวัตถุ[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • ระดับต่ำมาก (<1.0%) ควรมีการจัดการเพิ่มเติมอินทรียวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกโดยเฉพาะมูลไก่แกลบในอัตรา 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งนี้ควรพิจารณาเรื่องการปรับลดปุ๋ยไนโตรเจนลงบ้างเพื่อลดอาการเฝือใบ การใส่กากแป้งจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังในระยะยาวอาจส่งผลต่อการลดลงของค่าพีเอชดิน ซึ่งต้องมีการทดลองว่ามีผลต่อมันสำปะหลังอย่างไร การใช้กากแป้งที่มี C:N Ratio กว้างในปริมาณมาก ต้องระวังการเกิด N-immobilization และอาจทำให้พืชขาด N ได้ โดยเฉพาะในระยะแรก ๆ ของการเติบโตของมันสำปะหลัง ซึ่งเป็นช่วงที่จะมีผลต่อการให้ผลผลิตที่สำคัญมาก และการไถกลบเศษเหลือของพืชลงไปในดินอย่างสม่ำเสมอ หรือการไถกลบพืชปุ๋ยสดจะช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)[1]
การปลูกถั่วพร้าเป็นพืชปุ๋ยสดเพื่อเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุ

ค่าความเค็ม[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

มันสำปะหลังส่วนใหญ่จะปลูกในที่ดอน ดังนั้น จึงไม่ค่อยพบปัญหา ยกเว้นในบางบริเวณที่ปลูกอยู่ระหว่างรอยต่อของที่นาที่เป็นดินเค็มกับที่ดอน ซึ่งแก้ไขได้โดยการเพิ่มเติมวัสดุอินทรีย์ เช่น แกลบสด หรือเศษเหลือของพืชแล้วไถกลบ ควรหลีกเลี่ยงการใช้มูลไก่สด หรือมูลไก่แกลบ เนื่องจากเป็นวัสดุปรับปรุงดินอินทรีย์ที่มีค่าความเค็มค่อนข้างสูง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)[1]

ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • ระดับต่ำมากถึงค่อนข้างต่ำ (<10 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ควรใช้ปุ๋ยหลักที่เป็นสูตรเสมอ เช่น ปุ๋ย 15-15-15 หรือ 16-16-16 หรือในเรโช 1:1:1 ในอัตรา 50-100 กิโลกรัมต่อไร่
  • ระดับปานกลางถึงระดับค่อนข้างสูง (10-25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ควรใช้ปุ๋ยหลักที่มีเรโชปุ๋ยประมาณ 2:1:2 หรือ 2:1:3 เช่นปุ๋ยสูตร 15-7-18 ฯลฯ
  • ระดับสูงถึงสูงมาก (>25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ใช้ปุ๋ยเคมีที่ไม่มีฟอสฟอรัสในรูปปุ๋ยเดี่ยวไนโตรเจน โพแทสเซียม หรือปุ๋ยผสม (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)[1]

โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  • ระดับต่ำมาก (<30 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ซึ่งส่วนใหญ่จะพบในกรณีของดินเนื้อหยาบ ประเภท ดินทรายจัด ควรใช้ปุ๋ยสูตร 13-13-21 หรือใส่ปุ๋ยสูตรเสมอ เช่น สูตร 15-15-15 ฯลฯ
  • ระดับต่ำ (30-60 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ควรใส่ปุ๋ยสูตรเสมอ เช่น สูตร 15-15-15 หรือใส่ปุ๋ยสูตรดังกล่าวผสมกับปุ๋ยสูตร 13-13-21 ในสัดส่วน 1:1
  • ระดับปานกลาง (60-90 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ควรใส่ปุ๋ยที่มีเรโชปุ๋ย ประมาณ 2:1:2 หรือ 2:1:3 เช่น ปุ๋ยสูตร 15-7-18 ฯลฯ
  • ระดับสูง (>90 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) เนื่องจากมีโพแทสเซียมสูงอยู่แล้ว แนะนำให้ใส่ปุ๋ยสูตรที่มีเรโช ประมาณ 1:1:0 เช่นสูตร 16-20-0 หรือปุ๋ยที่มีเรโช 2:2:1 เช่นปุ๋ยสูตร 16-16-8 ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)[1]

ธาตุอาหารรอง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

(แคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ และกำมะถันที่เป็นประโยชน์)

   ทั้ง 3 ธาตุจะส่งผลต่อผลผลิตมันสำปะหลังเมื่อพบในดินที่ระดับต่ำถึงต่ำมาก อย่างไรตาม หากมีการปรับปรุงดินโดยใช้หินปูนบด หรือสารปูนไลม์อื่น ๆ ก็จะช่วยแก้ปัญหาเรื่องการขาดแคลเซียม ยิปซัมแก้ปัญหาการขาดแคลเซียม และกำมะถัน โดโลไมต์แก้ปัญหาการขาดแคลเซียม และแมกนีเซียม ปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอกหลาย ๆ ชนิด แก้ปัญหาการขาดแมกนีเซียม และกำมะถัน ทั้งนี้ไม่มีความจำเป็นต้องใส่ธาตุทั้ง 3 เพิ่มเติม โอกาสที่พืชจะขาดแคลเซียมและแมกนีเซียมได้จะเป็นกรณีของดินกรดจัด และดินทราย

ในกรณีที่ดินขาดธาตุอาหารรอง (Ca, Mg และ S) แนะนำให้ใช้ปุ๋ยธาตุอาหารรอง (Ca, Mg, S) เช่น ฟอสโฟยิปซัม (CaSO4.2H2O+P) ยิปซัม (CaSO4.2H2O) โดโลไมต์(CaCO3.MgCO3) ซัล-โป-แม๊กซ์ (MgSO4.K2SO4) โดยการใช้ฟอสโฟยิปซัม ยิปซัม และ โดโลไมต์ จะช่วยปรับปรุงสมบัติของดินที่มีปัญหาทางฟิสิกส์ไปด้วย เช่น ดินที่มีอัตราการแทรกซึมน้ำต่ำ ดินที่เกิดแผ่นแข็งปิดผิว กล่าวคือ มีคุณสมบัติเป็นทั้งปุ๋ยธาตุอาหารรอง และสารปรับปรุงดินไปพร้อม ๆ กัน ฯลฯ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)[1]

ธาตุอาหารเสริม[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

โบรอนเป็นธาตุอาหารเสริมที่มันสำปะหลังต้องการในปริมาณน้อยมาก และไม่ค่อยพบรายงานว่ามีอาการขาดเกิดขึ้นในแปลงปลูกมันสำปะหลัง สำหรับธาตุทองแดง แมงกานีส และเหล็ก โดยทั่วไปไม่ค่อยพบอาการขาดในประเทศไทยโดยเฉพาะในดินที่มีพีเอชเป็นกรด ปัญหาที่พบมากที่สุดสำหรับมันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศไทยก็คือ การขาดธาตุสังกะสีโดยเฉพาะเมื่อปลูกในดินทรายจัด ดินด่าง หรือพื้นที่ดินที่ปลูกมันสำปะหลังต่อเนื่องมาเป็นระยะเวลายาวนาน หรือมีการใช้ปุ๋ยที่มีฟอสฟอรัสในอัตราสูงอย่างต่อเนื่อง การขาดสังกะสีมีผลทำให้มันสำปะหลังยืดต้นช้า พบแถบสีขาว หรือเหลืองบนใบอ่อน ใบอาจย่นหรือเปลี่ยนรูปร่าง อาจพบจุดแผลเซลล์ตายในใบล่าง และอาจรุนแรงทำให้ต้นตาย ส่งผลถึงความอยู่รอดและผลผลิตมันสำปะหลัง แก้ไขโดยการฉีดพ่นปุ๋ยซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรตทางใบที่อัตรา 0.8 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทางใบเมื่อมันสำปะหลังอายุ 1, 2 และ 3 เดือนหลังปลูก หรือชุบท่อนพันธุ์ก่อนปลูกด้วยธาตุสังกะสี (ซิงค์ซัลเฟตเฮปตะไฮเดรต หรือซิงค์ซัลเฟตโมโนไฮเดรต) ที่ละลายน้ำในอัตรา 0.4 กิโลกรัมต่อน้ำ 20 ลิตร เป็นเวลา 15 นาที (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)[1]

สภาพของต้นมันสำปะหลังที่ขาดธาตุสังกะสี
สภาพแปลงมันสำปะหลังที่ขาดธาตุสังกะสี

การปรับปรุงดินโดยชีววิธี[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

การปรับปรุงดินเป็นการรักษาคุณภาพดิน เพื่อให้คงสภาพความอุดมสมบูรณ์ เพื่อใช้สำหรับเพาะปลูกได้อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงต้องมีการปรับปรุงอย่างถูกวิธี ซึ่งการปรับปรุงดินนั้นมีหลายวิธี ได้แก่ การปลูกพืชแซม การคลุมดิน การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชคลุมดิน การใช้ปุ๋ยพืชสด การปลูกพืชบนพื้นที่ระหว่างแถวไม้ยืนต้น และการใส่ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก วิธีการเหล่านี้ช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน ปรับปรุงโครงสร้างดิน ซึ่งสามารถใช้ทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีได้

  • การปลูกพืชแซม เป็นการปลูกพืชหลากหลายชนิดในพื้นที่ ซึ่งจะช่วยให้ธาตุอาหารที่อยู่ในดินที่เกิดการชะล้างน้อยลง การปลูกพืชแซมจะช่วยดึงธาตุอาหาออกจากดินได้สูงขึ้นกว่าการปลูกมันสำปะหลังเพียงอย่างเดียว ในการทดลองการปลูกพืชแซมในประเทศไทย (Reinhardt Howeler and Tin Maung Aye, 2015 หน้า 108) พบว่าการ หลังจากการปลูกถั่วเหลือง หรือถั่วลิสงแซมกับมันสำปะหลังมานาน 24 ปี อินทรีวัตถุในดินมีปริมาณเพิ่มขึ้นจาก 1.0 % เป็น 1.2 หรือ 1.3 % ในขณะที่ปลูกมันสำปะหลังเพียงอย่างเดียวปริมาณอินทรียวัตถุจะลดลงเล็กน้อยเป็น 0.9 % เมื่อมีการบริหารจัดการที่ดีจากการปลูกพืชแซม จะลดการเสียหายของหน้าดิน การไถกลบเศษซากพืชแซมจะช่วยเพิ่มอินทรียวัตถุในดิน
  • การคลุมดิน คือการปล่อยให้เศษซากพืชทิ้งไว้ที่ผิวดิน จะช่วยลดการเจริญเติบโตของวัชพืช ควบคุมอุณหภูมิ และรักษาความชื้นในดิน ช่วยป้องกันการเกิดการชะล้างของดิน ซึ่งถ้าดินโปร่งจะช่วยให้ต้นพันธุ์มันสำปะหลังลงปลูกได้โดยตรง วิธีการนี้เป็นการปลูกพืชโดยไม่ไถพรวน หรือพรวนดินน้อย เพื่อปรับปรุงโครงสร้างของดิน
  • การปลูกพืชหมุนเวียน เช่น ธัญพืช หรือหญ้าต่างๆ ช่วยลดการเจริญเติบโตของเชื้อรา (Phytophthora spp.) และโรคพุ่มแจ้ ช่วยเพิ่มรายได้แก่เกษตรกร นอกจากนี้ยังป้องกันการกระจายของเชื้อโรคจากซากมันสำปะหลังในฤดูกาลผลิตที่ผ่านมา
  • การปลูกพืชคลุมดิน
  • การใช้ปุ๋ยพืชสด
  • การปลูกพืชบนพื้นที่ระหว่างแถวไม้ยืนต้น
  • การใส่ปุ๋ยคอก
  • ปุ๋ยหมัก

อ้างอิง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 1.9 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.
  2. ฟาร์ฒเกษตร ชีวิตเกษตร ครบวงจร.  2554.  มันสำปะหลังและการปลูกมันสำปะหลัง. ที่มา: https://www.farmkaset.org/html5/contents.aspx?con_id=00434. วันที่สืบค้น 16 กรกฎาคม 2564.
  3. 3.0 3.1 ทัศนีย์ อัตตะนันทน์ และ ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์. 2552.  ธรรมชาติของดินและปุ๋ย. ครั้งที่ 7 หจก. กรครีเอชั่น. กรุงเทพฯ.
  4. กรมวิชาการเกษตร. 2553. คำแนะนำการใช้ปุ๋ยกับพืชเศรษฐกิจ. กรมวิชาการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 122 หน้า.