ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเตรียมท่อนพันธุ์"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน)
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
ปัจจุบันมีมันสำปะหลังหลายพันธุ์ให้เกษตรกรเลือกใช้ปลูกในแต่ละท้องที่ และดินแต่ละชุด จะมีความเหมาะสมกับพันธุ์ต่างๆ ที่แตกต่างกันออกไป การขยายพันธุ์มันสำปะหลังส่วนใหญ่ไม่นิยมขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด เนื่องจากมันสำปะหลังไม่ค่อยติดเมล็ด อีกทั้งการเก็บเมล็ดพันธุ์นั้นลำบาก เนื่องจากเมื่อฝักแก่แล้วจะแตก ทำให้เมล็ดของมันสำปะหลังร่วง และต้องพักตัวประมาณ 2 เดือน จึงจะสามารถนำมาเพาะเป็นต้นกล้า ต้องใช้เวลาในการอนุบาลก่อนจะย้ายลงแปลงปลูก และมักเกิด การผสมข้ามพันธุ์ได้ง่าย การปลูกด้วยเมล็ดจึงจึงนิยมในการขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ หรือการปรับปรุงพันธุ์เท่านั้น ดังนั้นเกษตรกรจึงนิยมขยายพันธุ์มันสำปะหลังด้วยการใช้ท่อนพันธุ์ ซึ่งการเตรียมท่อนพันธุ์มันสำปะหลังควรคำนึงถึงต้นพันธุ์ที่เหมาะสมกับพื้นที่ปลูก จึงจะสามารถเจริญเติบโตได้ดี มีโอกาสในการติดโรคและแมลงน้อย การเตรียมท่อนพันธุ์มีข้อพิจารณา ดังนี้
มันสำปะหลังสามารถขยายพันธุ์ได้ทั้งจากเมล็ดและลำต้น แต่การขยายพันธุ์ด้วยเมล็ดไม่เหมาะสมสำหรับเกษตรกรที่ปลูกเพื่อขายผลผลิตสู่โรงงานแปรรูปหรือเพื่อการค้า เนื่องจากเมล็ดมีระยะพักตัวประมาณ 2 เดือน ทำให้ไม่สะดวกในการปลูกเพื่อการค้า และการปลูกโดยใช้เมล็ดในแปลงปลูกโดยตรง ในระยะต้นอ่อนจะมีความอ่อนแอ เจริญเติบโตช้า ไม่สามารถแข่งขึ้นกับวัชพืชได้ มีจำนวนต้นอยู่รอดน้อย ดังนั้นการขยายพันธุ์มันสำปะหลังด้วยท่อนพันธุ์ที่มีคุณภาพดีเยี่ยม มีผลทำให้ผลผลิตดี<ref>จรุงสิทธิ์ ลิ่มศิลา. 2547. เอกสารวิชาการมันสำปะหลัง พันธุ์และการขยายพันธุ์. ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 6</ref> ซึ่งการเตรียมท่อนพันธุ์มันสำปะหลังที่มีข้อพิจารณาดังนี้


== '''การตัดท่อนพันธุ์''' <ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> ==
== '''การตัดท่อนพันธุ์''' <ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> ==
บรรทัดที่ 8: บรรทัดที่ 8:
== '''อายุต้นพันธุ์ที่เหมาะสม''' ==
== '''อายุต้นพันธุ์ที่เหมาะสม''' ==
มันสำปะหลังเป็นพืชที่ขยายพันธุ์ด้วยลำต้น โดยอายุของท่อนพันธุ์ที่เหมาะสมจะอยู่ในช่วง 8 – 12 เดือน ซึ่งเมื่อนำไปปลูกจะมีเปอร์เซ็นต์อยู่รอดถึง 90 – 94 เปอร์เซ็นต์<ref>ไกวัล กล้าแข็ง และวิลาวัลย์ วงษ์เกษม. 2548. การปลูกมันสำปะหลัง. กรมส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี.</ref>
มันสำปะหลังเป็นพืชที่ขยายพันธุ์ด้วยลำต้น โดยอายุของท่อนพันธุ์ที่เหมาะสมจะอยู่ในช่วง 8 – 12 เดือน ซึ่งเมื่อนำไปปลูกจะมีเปอร์เซ็นต์อยู่รอดถึง 90 – 94 เปอร์เซ็นต์<ref>ไกวัล กล้าแข็ง และวิลาวัลย์ วงษ์เกษม. 2548. การปลูกมันสำปะหลัง. กรมส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี.</ref>
== '''ขนาดของท่อนพันธุ์''' ==
ตัดท่อนพันธุ์ยาวประมาณ 20 เซนติเมตร สำหรับปลูกในฤดูฝน และความยาว 25 เซนติเมตรสำหรับปลูกในช่วงปลายฤดูฝน มีตาไม่น้อยกว่า 5 ตาต่อท่อนพันธุ์ ท่อนพันธุ์จากลำต้นจะเจริญเติบโตดีกว่าท่อนพันธุ์จากกิ่งพันธุ์ ควรเลือกต้นพันธุ์ใหม่ สด ไม่บอบช้ำ ไม่มีโรคและแมลงเข้าทำลาย<ref>วิลาวัลย์ วงษ์เกษม และคณะ. 2552. เอกสารคำแนะนำการผลิตมันสำปะหลัง. กรมส่งเสริมการเกษตร</ref>                      


== '''การแช่ท่อนพันธุ์ด้วยธาตุอาหารพืช''' <ref name=":0" /> ==
== '''การแช่ท่อนพันธุ์ด้วยธาตุอาหารพืช''' <ref name=":0" /> ==
บรรทัดที่ 14: บรรทัดที่ 17:
ในกรณีที่พื้นที่ปลูกเป็นดินด่าง (pH > 7.0) หรือต้นพันธุ์ที่จัดหามาปลูกได้มาจากพื้นที่ที่ขาดธาตุสังกะสี (Zn) เมื่อนำต้นพันธุ์จากแหล่งที่ขาดธาตุอาหารดังกล่าวมาปลูก ต้นมันสำปะหลังมักแสดงอาการขาดธาตุสังกะสีตั้งแต่ต้นยังเล็ก วิธีการแก้ไขทำได้โดยการแช่ในสารละลายซิงค์ซัลเฟต (ZnSO<sub>4</sub>) ที่ความเข้มข้น 2 เปอร์เซ็นต์ โดยผสมซิงค์ซัลเฟตในอัตรา 400 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์นานประมาณ 10 นาที ทั้งนี้สามารถแช่ไปพร้อมกับสารเคมีป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งได้ หรือหากไม่สะดวกในการแช่ท่อนพันธุ์สามารถฉีดพ่นธาตุอาหารดังกล่าวทางใบโดยผสมซิงค์ซัลเฟตในอัตรา 800 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น 2 – 3 ครั้ง ทุก 7 วัน ตั้งแต่มันสำปะหลังเริ่มงอกจนถึง 60 วันหลังปลูก หรือจนกว่ามันสำปะหลังจะไม่แสดงอาการขาดธาตุอาหารดังกล่าว  
ในกรณีที่พื้นที่ปลูกเป็นดินด่าง (pH > 7.0) หรือต้นพันธุ์ที่จัดหามาปลูกได้มาจากพื้นที่ที่ขาดธาตุสังกะสี (Zn) เมื่อนำต้นพันธุ์จากแหล่งที่ขาดธาตุอาหารดังกล่าวมาปลูก ต้นมันสำปะหลังมักแสดงอาการขาดธาตุสังกะสีตั้งแต่ต้นยังเล็ก วิธีการแก้ไขทำได้โดยการแช่ในสารละลายซิงค์ซัลเฟต (ZnSO<sub>4</sub>) ที่ความเข้มข้น 2 เปอร์เซ็นต์ โดยผสมซิงค์ซัลเฟตในอัตรา 400 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์นานประมาณ 10 นาที ทั้งนี้สามารถแช่ไปพร้อมกับสารเคมีป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งได้ หรือหากไม่สะดวกในการแช่ท่อนพันธุ์สามารถฉีดพ่นธาตุอาหารดังกล่าวทางใบโดยผสมซิงค์ซัลเฟตในอัตรา 800 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น 2 – 3 ครั้ง ทุก 7 วัน ตั้งแต่มันสำปะหลังเริ่มงอกจนถึง 60 วันหลังปลูก หรือจนกว่ามันสำปะหลังจะไม่แสดงอาการขาดธาตุอาหารดังกล่าว  


== '''การแช่ท่อนพันธุ์เพื่อป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง''' <ref name=":0" /> ==
== '''การแช่ท่อนพันธุ์เพื่อป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง''' ==
หากใช้ท่อนพันธุ์ที่มาจากแหล่งที่มีการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง หรือในพื้นที่ปลูกโดยรอบพบการระบาดของเพลี้ยแป้งอยู่ก่อนแล้ว ควรแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีป้องกันกำจัดแมลงก่อนปลูก สารเคมีที่แนะนำและวิธีการใช้ แสดงใน'''ตารางที่ 1'''
หากใช้ท่อนพันธุ์ที่มาจากแหล่งที่มีการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง หรือในพื้นที่ปลูกโดยรอบพบการระบาดของเพลี้ยแป้งอยู่ก่อนแล้ว ควรแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีป้องกันกำจัดแมลงก่อนปลูก สารเคมีที่แนะนำและวิธีการใช้ แสดงใน'''ตารางที่ 1'''


บรรทัดที่ 52: บรรทัดที่ 55:
[[ไฟล์:Image s13.png|center|thumb|340x340px|ภาพแสดงวิธีการเก็บรักษาต้นพันธุ์ที่ดี]]
[[ไฟล์:Image s13.png|center|thumb|340x340px|ภาพแสดงวิธีการเก็บรักษาต้นพันธุ์ที่ดี]]


== อ้างอิง ==
== '''อ้างอิง''' ==