ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกพันธุ์ปลูก"
(ไม่แสดง 1 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้คนเดียวกัน) | |||
บรรทัดที่ 4: | บรรทัดที่ 4: | ||
ดินที่ใช้ปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ที่ปลูกกันโดยทั่วไปมักเป็นดินที่มีปฏิกิริยาเป็นกรด เนื้อหยาบ และมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เป็นดินทรายและดินร่วนปนทราย ที่มีปริมาณอินทรียวัตถุในดินต่ำถึงต่ำมากจึงมีการเลือกพันธุ์มันสำปะหลังให้เหมาะสมกับชนิดของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินเพื่ออัตราการรอดหลังปลูกและผลผลิตที่สูงขึ้น '''ดังตารางที่ 1''' | ดินที่ใช้ปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ที่ปลูกกันโดยทั่วไปมักเป็นดินที่มีปฏิกิริยาเป็นกรด เนื้อหยาบ และมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เป็นดินทรายและดินร่วนปนทราย ที่มีปริมาณอินทรียวัตถุในดินต่ำถึงต่ำมากจึงมีการเลือกพันธุ์มันสำปะหลังให้เหมาะสมกับชนิดของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินเพื่ออัตราการรอดหลังปลูกและผลผลิตที่สูงขึ้น '''ดังตารางที่ 1''' | ||
'''ตารางที่ 1''' พันธุ์มันสำปะหลังที่เหมาะสมกับชนิดของเนื้อดินแต่ละชนิด<ref> | '''ตารางที่ 1''' พันธุ์มันสำปะหลังที่เหมาะสมกับชนิดของเนื้อดินแต่ละชนิด<ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> | ||
{| class="wikitable" | {| class="wikitable" | ||
| '''ชนิดของเนื้อดิน''' | | '''ชนิดของเนื้อดิน''' | ||
บรรทัดที่ 59: | บรรทัดที่ 59: | ||
|} | |} | ||
== พันธุ์กับโซนพื้นที่ปลูก == | == '''พันธุ์กับโซนพื้นที่ปลูก'''<ref>อนุสรณ์ สัจจะประภา. 2558. การศึกษาแนวทางการปฏิบัติที่ดีเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.</ref> == | ||
การเลือกพันธุ์มันสำปะหลังให้เหมาะกับพื้นที่ปลูกเป็นการลดต้นทุนการผลิต เนื่องจากไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการบำรุงและดูแลรักษาเพื่อปรับสภาพพื้นที่ปลูกให้เหมาะกับชนิดของพันธุ์นั้นๆ โดยการวางแผนผลิตมันสำปะหลังตามการแบ่งเขตการผลิตนิเวศน์เกษตรของกรมพัฒนาที่ดินได้แบ่งเขตการผลิตเป็น 7 เขต '''ดังตารางที่ 2''' | การเลือกพันธุ์มันสำปะหลังให้เหมาะกับพื้นที่ปลูกเป็นการลดต้นทุนการผลิต เนื่องจากไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการบำรุงและดูแลรักษาเพื่อปรับสภาพพื้นที่ปลูกให้เหมาะกับชนิดของพันธุ์นั้นๆ โดยการวางแผนผลิตมันสำปะหลังตามการแบ่งเขตการผลิตนิเวศน์เกษตรของกรมพัฒนาที่ดินได้แบ่งเขตการผลิตเป็น 7 เขต '''ดังตารางที่ 2''' | ||
บรรทัดที่ 139: | บรรทัดที่ 139: | ||
== '''พันธุ์กับฤดูปลูก ''' == | == '''พันธุ์กับฤดูปลูก ''' == | ||
การปลูกมันสำปะหลังในประเทศไทย เกษตรกรสามารถเลือกปลูกได้ทั้งต้นฤดูฝน (กุมภาพันธ์ - เมษายน) และปลายฤดูฝน (พฤศจิกายน - มกราคม) มันสำปะหลังจะให้ผลผลิตหัวสดสูงสุดหากปลูกช่วงต้นฤดูฝน อย่างไรก็ตามการปลูกในช่วงปลายฝนหรือช่วงแล้ง สามารถลดปัญหาวัชพืช มีผลดีต่อการอนุรักษ์ดิน เนื่องจากช่วงแรกที่ปลูกแม้จะเติบโตช้า แต่ไม่มีฝนตกที่ทำให้เกิดการชะล้างของหน้าดิน เมื่อถึงฤดูฝนมันสำปะหลังจะเจริญเติบโตแผ่พุ่มใบทำให้ลดแรงปะทะจากฝน อีกทั้งมันสำปะหลังเป็นพืชที่สามารถทนแล้งได้ดี ซึ่งหลังจากปลูกและต้นพันธุ์สามารถตั้งตัวได้แล้ว เมื่อขาดฝนมันสำปะหลังจะลดพื้นที่ใบโดยการผลัดใบแก่และสร้างใบใหม่ให้น้อยลง ใบมีขนาดเล็กลง เพื่อลดการคายน้ำ โดยมันสำปะหลังแต่ละพันธุ์มีการตอบสนองต่อช่วงการปลูกและให้ผลผลิตที่ต่างกัน '''ดังตารางที่ 3''' | การปลูกมันสำปะหลังในประเทศไทย เกษตรกรสามารถเลือกปลูกได้ทั้งต้นฤดูฝน (กุมภาพันธ์ - เมษายน) และปลายฤดูฝน (พฤศจิกายน - มกราคม)<ref>วิจารณ์ วิชชุกิจ. 2551. เทคนิคการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังต่อไร่.<nowiki>https://www.tapiocathai.org/Articles/51_4.pdf</nowiki>. สืบค้นเมื่อ 8 พฤษภาคม 2564.</ref> มันสำปะหลังจะให้ผลผลิตหัวสดสูงสุดหากปลูกช่วงต้นฤดูฝน อย่างไรก็ตามการปลูกในช่วงปลายฝนหรือช่วงแล้ง สามารถลดปัญหาวัชพืช มีผลดีต่อการอนุรักษ์ดิน เนื่องจากช่วงแรกที่ปลูกแม้จะเติบโตช้า แต่ไม่มีฝนตกที่ทำให้เกิดการชะล้างของหน้าดิน เมื่อถึงฤดูฝนมันสำปะหลังจะเจริญเติบโตแผ่พุ่มใบทำให้ลดแรงปะทะจากฝน อีกทั้งมันสำปะหลังเป็นพืชที่สามารถทนแล้งได้ดี ซึ่งหลังจากปลูกและต้นพันธุ์สามารถตั้งตัวได้แล้ว เมื่อขาดฝนมันสำปะหลังจะลดพื้นที่ใบโดยการผลัดใบแก่และสร้างใบใหม่ให้น้อยลง ใบมีขนาดเล็กลง เพื่อลดการคายน้ำ โดยมันสำปะหลังแต่ละพันธุ์มีการตอบสนองต่อช่วงการปลูกและให้ผลผลิตที่ต่างกัน '''ดังตารางที่ 3''' | ||
'''ตารางที่ 3''' ปริมาณแป้งในหัวสด ผลผลิตหัวสด ผลผลิตแป้ง และผลผลิตมันเส้นของมันสำปะหลังแต่ละพันธุ์ เมื่อปลูกปลายฤดูฝนและต้นฤดูฝน | '''ตารางที่ 3'''<ref>[http://web.sut.ac.th/cassava/?name=11cas_research&file=readknowledge&id=61]</ref> ปริมาณแป้งในหัวสด ผลผลิตหัวสด ผลผลิตแป้ง และผลผลิตมันเส้นของมันสำปะหลังแต่ละพันธุ์ เมื่อปลูกปลายฤดูฝนและต้นฤดูฝน | ||
{| class="wikitable" | {| class="wikitable" | ||
| rowspan="2" |'''พันธุ์''' | | rowspan="2" |'''พันธุ์''' | ||
บรรทัดที่ 216: | บรรทัดที่ 216: | ||
''หมายเหตุ'' * มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 7 เมื่อปลูกปลายฤดูฝนและต้นฤดูฝน มีปริมาณแป้งในหัวสด ผลผลิตหัวสด ผลผลิตแป้ง และผลผลิตมันเส้นที่สูงกว่าพันธุ์อื่นๆ | ''หมายเหตุ'' * มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 7 เมื่อปลูกปลายฤดูฝนและต้นฤดูฝน มีปริมาณแป้งในหัวสด ผลผลิตหัวสด ผลผลิตแป้ง และผลผลิตมันเส้นที่สูงกว่าพันธุ์อื่นๆ | ||
== พันธุ์กับอายุเก็บเกี่ยว == | == '''พันธุ์กับอายุเก็บเกี่ยว''' == | ||
มันสำปะหลังเป็นพืชอายุยาวสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อใดก็ได้ แต่โดยปกติจะมีการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังมากในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม โดยเก็บเกี่ยวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - เดือนมีนาคมมากที่สุด ส่วนช่วงต้นฝนและกลางฝน (เมษายน - ตุลาคม) มีการเก็บเกี่ยวน้อยมาก อายุของมันสำปะหลังที่เกษตรกรทำการเก็บเกี่ยวมีอายุ 8 – 12 เดือน โดยเก็บเกี่ยวให้ทันเวลาที่จะเตรียมดินปลูกมันสำปะหลังในฤดูถัดไป นอกจากนี้มันสำปะหลังที่เก็บเกี่ยวเมื่ออายุได้ 12 เดือน ให้ผลผลิตหัวแห้งสูงกว่าเมื่ออายุ 8 เดือน ไม่ว่าจะปลูกเดือนใดก็ตาม อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่ทำให้เกษตรกรตัดสินใจเก็บเกี่ยวผลผลิต ได้แก่ ราคาหัวมันสำปะหลัง ฐานะทางเศรษฐกิจ ฤดูกาล แรงงานและที่สำคัญ คือ พันธุ์ที่ปลูก '''ดังตารางที่ 4''' | มันสำปะหลังเป็นพืชอายุยาวสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อใดก็ได้ แต่โดยปกติจะมีการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังมากในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม โดยเก็บเกี่ยวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - เดือนมีนาคมมากที่สุด ส่วนช่วงต้นฝนและกลางฝน (เมษายน - ตุลาคม) มีการเก็บเกี่ยวน้อยมาก อายุของมันสำปะหลังที่เกษตรกรทำการเก็บเกี่ยวมีอายุ 8 – 12 เดือน โดยเก็บเกี่ยวให้ทันเวลาที่จะเตรียมดินปลูกมันสำปะหลังในฤดูถัดไป นอกจากนี้มันสำปะหลังที่เก็บเกี่ยวเมื่ออายุได้ 12 เดือน ให้ผลผลิตหัวแห้งสูงกว่าเมื่ออายุ 8 เดือน ไม่ว่าจะปลูกเดือนใดก็ตาม อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่ทำให้เกษตรกรตัดสินใจเก็บเกี่ยวผลผลิต ได้แก่ ราคาหัวมันสำปะหลัง ฐานะทางเศรษฐกิจ ฤดูกาล แรงงานและที่สำคัญ คือ พันธุ์ที่ปลูก '''ดังตารางที่ 4''' | ||
'''ตารางที่ 4''' พันธุ์ที่เหมาะสมกับอายุเก็บเกี่ยวที่ต่างกัน | '''ตารางที่ 4'''<ref name=":0" /> พันธุ์ที่เหมาะสมกับอายุเก็บเกี่ยวที่ต่างกัน | ||
{| class="wikitable" | {| class="wikitable" | ||
|'''อายุเก็บเกี่ยว''' | |'''อายุเก็บเกี่ยว''' | ||
บรรทัดที่ 239: | บรรทัดที่ 239: | ||
|} | |} | ||
== พันธุ์กับระยะปลูก == | == '''พันธุ์กับระยะปลูก''' == | ||
การปลูกมันสำปะหลังมีระยะปลูกที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับพันธุ์และความอุดมสมบูรณ์ของดิน ระยะปลูกที่ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกโดยทั่วไปตามมาตรฐานคือ 1.00 X 1.00 เมตร ในปัจจุบันพบว่า ระยะปลูกมันสำปะหลังใช้ระยะระหว่างแถวและระยะระหว่างต้นแคบลง เช่น 0.80 X 0.80 1.00 X 0.50 และ 1.00 X 0.80 เมตร เป็นต้น เนื่องจากการใช้ระยะปลูกที่แคบลงเป็นผลมาจากความต้องการให้มันสำปะหลังเติบโตคลุมพื้นที่ปลูกมากขึ้น เพื่อลดปัญหาในการกำจัดวัชพืช และให้ได้จำนวนหัวต่อพื้นที่มากขึ้น ส่งผลให้ผลผลิตต่อพื้นที่สูง ส่วนการปลูกในระยะที่มากกว่า 1.00 เมตร เพื่อให้สะดวกต่อการใช้เครื่องจักรกล และระบบการปลูกพืชแซม โดยการปลูกพืชแซมสามารถช่วยรักษาอินทรีย์วัตถุในดินได้ยาวนานกว่า ลดการไหล่บ่าของน้ำ และลดการชะล้างพังทลายของดินบนพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังที่มีความลาดเอียง โดยเกษตรกรสามารถพิจารณาระยะปลูกตามความเหมาะสมของพันธุ์มันสำปะหลัง '''ดังตารางที่ 5''' | การปลูกมันสำปะหลังมีระยะปลูกที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับพันธุ์และความอุดมสมบูรณ์ของดิน ระยะปลูกที่ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกโดยทั่วไปตามมาตรฐานคือ 1.00 X 1.00 เมตร ในปัจจุบันพบว่า ระยะปลูกมันสำปะหลังใช้ระยะระหว่างแถวและระยะระหว่างต้นแคบลง เช่น 0.80 X 0.80 1.00 X 0.50 และ 1.00 X 0.80 เมตร เป็นต้น เนื่องจากการใช้ระยะปลูกที่แคบลงเป็นผลมาจากความต้องการให้มันสำปะหลังเติบโตคลุมพื้นที่ปลูกมากขึ้น เพื่อลดปัญหาในการกำจัดวัชพืช และให้ได้จำนวนหัวต่อพื้นที่มากขึ้น ส่งผลให้ผลผลิตต่อพื้นที่สูง ส่วนการปลูกในระยะที่มากกว่า 1.00 เมตร เพื่อให้สะดวกต่อการใช้เครื่องจักรกล และระบบการปลูกพืชแซม โดยการปลูกพืชแซมสามารถช่วยรักษาอินทรีย์วัตถุในดินได้ยาวนานกว่า ลดการไหล่บ่าของน้ำ และลดการชะล้างพังทลายของดินบนพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังที่มีความลาดเอียง โดยเกษตรกรสามารถพิจารณาระยะปลูกตามความเหมาะสมของพันธุ์มันสำปะหลัง '''ดังตารางที่ 5''' | ||
'''ตารางที่ 5''' พันธุ์ที่เหมาะสมกับระยะปลูกที่ต่างกัน | '''ตารางที่ 5'''<ref name=":0" /> พันธุ์ที่เหมาะสมกับระยะปลูกที่ต่างกัน | ||
{| class="wikitable" | {| class="wikitable" | ||
|'''ระยะปลูก''' | |'''ระยะปลูก''' | ||
บรรทัดที่ 286: | บรรทัดที่ 286: | ||
|} | |} | ||
== อ้างอิง == | == '''อ้างอิง''' == |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 08:03, 30 พฤศจิกายน 2564
การเลือกพันธุ์มันสำปะหลังที่เหมาะสำหรับปลูกในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งนั้น ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ที่สำคัญ ได้แก่ การเลือกพันธุ์ที่เหมาะสมกับลักษณะดิน พื้นที่ปลูก ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ฤดูปลูก อายุเก็บเกี่ยว และระยะปลูก ซึ่งปัจจัยเหล่านี้มีส่วนช่วยในการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง และลดต้นทุนการผลิต ดังนี้
พันธุ์กับชนิดของเนื้อดิน[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
ดินที่ใช้ปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ที่ปลูกกันโดยทั่วไปมักเป็นดินที่มีปฏิกิริยาเป็นกรด เนื้อหยาบ และมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เป็นดินทรายและดินร่วนปนทราย ที่มีปริมาณอินทรียวัตถุในดินต่ำถึงต่ำมากจึงมีการเลือกพันธุ์มันสำปะหลังให้เหมาะสมกับชนิดของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินเพื่ออัตราการรอดหลังปลูกและผลผลิตที่สูงขึ้น ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 พันธุ์มันสำปะหลังที่เหมาะสมกับชนิดของเนื้อดินแต่ละชนิด[1]
ชนิดของเนื้อดิน | ลักษณะของเนื้อดิน | พันธุ์ที่เหมาะสม |
ดินทราย |
|
|
ดินร่วนปนทราย |
|
|
ดินร่วนปนเหนียว |
|
|
ดินด่างหรือดินที่มีปูนปะปน |
|
|
พันธุ์กับโซนพื้นที่ปลูก[2][แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
การเลือกพันธุ์มันสำปะหลังให้เหมาะกับพื้นที่ปลูกเป็นการลดต้นทุนการผลิต เนื่องจากไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการบำรุงและดูแลรักษาเพื่อปรับสภาพพื้นที่ปลูกให้เหมาะกับชนิดของพันธุ์นั้นๆ โดยการวางแผนผลิตมันสำปะหลังตามการแบ่งเขตการผลิตนิเวศน์เกษตรของกรมพัฒนาที่ดินได้แบ่งเขตการผลิตเป็น 7 เขต ดังตารางที่ 2
ตารางที่ 2 สายพันธุ์มันสำปะหลังที่เหมาะสมกับโซนพื้นที่ต่างๆ
โซน | ภูมิภาค | จังหวัด | สายพันธุ์ที่เหมาะสม |
โซน1 | ภาคตะวันออก | ปราจีนบุรี, ฉะเชิงเทรา, สระแก้ว, จันทบุรี, ระยอง และตราด |
|
โซน2 | ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนล่างเขตอับฝน |
บุรีรัมย์, ชัยภูมิ และนครราชสีมา |
|
โซน3 | ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนล่างและชายแม่น้ำโขง |
นครพนม, มุกดาหาร, ยโสธร, อำนาจเจริญ, อุบลราชธานี, ศรีสะเกษ และสุรินทร์ |
|
โซน4 | ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนกลาง |
มหาสารคาม, ร้อยเอ็ด, กาฬสินธุ์ และขอนแก่น |
|
โซน5 | ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ตอนบน |
เลย, หนองบัวลำภู, อุดรธานี, หนองคาย และสกลนคร |
|
โซน6 | ภาคเหนือ | เชียงราย, อุดรดิตถ์, พิษณุโลก, นครสวรรค์, อุทัยธานี, กำแพงเพชร, เพชรบูรณ์, ตาก, สุโขทัย, แพร่, น่าน, ลำปาง, พะเยา และพิจิตร |
|
โซน7 | ภาคกลาง | สระบุรี, ลพบุรี, ชัยนาท, สุพรรณบุรี, กาญจนบุรี, ราชบุรี และเพชรบุรี |
|
พันธุ์กับฤดูปลูก [แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
การปลูกมันสำปะหลังในประเทศไทย เกษตรกรสามารถเลือกปลูกได้ทั้งต้นฤดูฝน (กุมภาพันธ์ - เมษายน) และปลายฤดูฝน (พฤศจิกายน - มกราคม)[3] มันสำปะหลังจะให้ผลผลิตหัวสดสูงสุดหากปลูกช่วงต้นฤดูฝน อย่างไรก็ตามการปลูกในช่วงปลายฝนหรือช่วงแล้ง สามารถลดปัญหาวัชพืช มีผลดีต่อการอนุรักษ์ดิน เนื่องจากช่วงแรกที่ปลูกแม้จะเติบโตช้า แต่ไม่มีฝนตกที่ทำให้เกิดการชะล้างของหน้าดิน เมื่อถึงฤดูฝนมันสำปะหลังจะเจริญเติบโตแผ่พุ่มใบทำให้ลดแรงปะทะจากฝน อีกทั้งมันสำปะหลังเป็นพืชที่สามารถทนแล้งได้ดี ซึ่งหลังจากปลูกและต้นพันธุ์สามารถตั้งตัวได้แล้ว เมื่อขาดฝนมันสำปะหลังจะลดพื้นที่ใบโดยการผลัดใบแก่และสร้างใบใหม่ให้น้อยลง ใบมีขนาดเล็กลง เพื่อลดการคายน้ำ โดยมันสำปะหลังแต่ละพันธุ์มีการตอบสนองต่อช่วงการปลูกและให้ผลผลิตที่ต่างกัน ดังตารางที่ 3
ตารางที่ 3[4] ปริมาณแป้งในหัวสด ผลผลิตหัวสด ผลผลิตแป้ง และผลผลิตมันเส้นของมันสำปะหลังแต่ละพันธุ์ เมื่อปลูกปลายฤดูฝนและต้นฤดูฝน
พันธุ์ | ปริมาณแป้งในหัวสด (%) | ผลผลิตหัวสด
(ตันต่อไร่) |
ผลผลิตแป้ง
(ตันต่อไร่) |
ผลผลิตมันเส้น
(ตันต่อไร่) | ||||
ปลายฝน | ต้นฝน | ปลายฝน | ต้นฝน | ปลายฝน | ต้นฝน | ปลายฝน | ต้นฝน | |
* ระยอง 7 | 27.6 | 27.2 | 6.30 | 6.36 | 1.77 | 1.73 | 2.43 | 2.36 |
ระยอง 90 | 26.8 | 25.8 | 5.26 | 5.14 | 1.42 | 1.33 | 1.99 | 1.91 |
ระยอง 5 | 24.7 | 25.0 | 5.36 | 5.27 | 1.33 | 1.32 | 1.95 | 1.92 |
เกษตรศาสตร์ 50 | 26.1 | 24.4 | 5.48 | 5.98 | 1.45 | 1.51 | 2.05 | 2.19 |
ระยอง 72 | 22.5 | 22.9 | 5.55 | 5.81 | 1.25 | 1.33 | 1.92 | 2.05 |
หมายเหตุ * มันสำปะหลังพันธุ์ระยอง 7 เมื่อปลูกปลายฤดูฝนและต้นฤดูฝน มีปริมาณแป้งในหัวสด ผลผลิตหัวสด ผลผลิตแป้ง และผลผลิตมันเส้นที่สูงกว่าพันธุ์อื่นๆ
พันธุ์กับอายุเก็บเกี่ยว[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
มันสำปะหลังเป็นพืชอายุยาวสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตเมื่อใดก็ได้ แต่โดยปกติจะมีการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลังมากในช่วงเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม โดยเก็บเกี่ยวในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - เดือนมีนาคมมากที่สุด ส่วนช่วงต้นฝนและกลางฝน (เมษายน - ตุลาคม) มีการเก็บเกี่ยวน้อยมาก อายุของมันสำปะหลังที่เกษตรกรทำการเก็บเกี่ยวมีอายุ 8 – 12 เดือน โดยเก็บเกี่ยวให้ทันเวลาที่จะเตรียมดินปลูกมันสำปะหลังในฤดูถัดไป นอกจากนี้มันสำปะหลังที่เก็บเกี่ยวเมื่ออายุได้ 12 เดือน ให้ผลผลิตหัวแห้งสูงกว่าเมื่ออายุ 8 เดือน ไม่ว่าจะปลูกเดือนใดก็ตาม อย่างไรก็ตาม ปัจจัยที่ทำให้เกษตรกรตัดสินใจเก็บเกี่ยวผลผลิต ได้แก่ ราคาหัวมันสำปะหลัง ฐานะทางเศรษฐกิจ ฤดูกาล แรงงานและที่สำคัญ คือ พันธุ์ที่ปลูก ดังตารางที่ 4
ตารางที่ 4[1] พันธุ์ที่เหมาะสมกับอายุเก็บเกี่ยวที่ต่างกัน
อายุเก็บเกี่ยว | พันธุ์ที่เหมาะสม |
8 – 12 เดือน |
|
มากกว่า 12 เดือน |
|
พันธุ์กับระยะปลูก[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
การปลูกมันสำปะหลังมีระยะปลูกที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับพันธุ์และความอุดมสมบูรณ์ของดิน ระยะปลูกที่ส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกโดยทั่วไปตามมาตรฐานคือ 1.00 X 1.00 เมตร ในปัจจุบันพบว่า ระยะปลูกมันสำปะหลังใช้ระยะระหว่างแถวและระยะระหว่างต้นแคบลง เช่น 0.80 X 0.80 1.00 X 0.50 และ 1.00 X 0.80 เมตร เป็นต้น เนื่องจากการใช้ระยะปลูกที่แคบลงเป็นผลมาจากความต้องการให้มันสำปะหลังเติบโตคลุมพื้นที่ปลูกมากขึ้น เพื่อลดปัญหาในการกำจัดวัชพืช และให้ได้จำนวนหัวต่อพื้นที่มากขึ้น ส่งผลให้ผลผลิตต่อพื้นที่สูง ส่วนการปลูกในระยะที่มากกว่า 1.00 เมตร เพื่อให้สะดวกต่อการใช้เครื่องจักรกล และระบบการปลูกพืชแซม โดยการปลูกพืชแซมสามารถช่วยรักษาอินทรีย์วัตถุในดินได้ยาวนานกว่า ลดการไหล่บ่าของน้ำ และลดการชะล้างพังทลายของดินบนพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังที่มีความลาดเอียง โดยเกษตรกรสามารถพิจารณาระยะปลูกตามความเหมาะสมของพันธุ์มันสำปะหลัง ดังตารางที่ 5
ตารางที่ 5[1] พันธุ์ที่เหมาะสมกับระยะปลูกที่ต่างกัน
ระยะปลูก
(ระหว่างแถว X ระหว่างต้น) |
พันธุ์ที่เหมาะสม |
0.80 x 0.80 เมตร |
|
1.00 x 0.50 เมตร |
|
1.00 x 0.80 เมตร |
|
1.20 x 0.60 เมตร |
|
1.20 x 0.80 หรือ1.00 x 1.00 เมตร |
|
1.20 x 1.00 เมตร |
|
1.20 x 1.20 เมตร |
|
อ้างอิง[แก้ไข | แก้ไขต้นฉบับ]
- ↑ 1.0 1.1 1.2 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.
- ↑ อนุสรณ์ สัจจะประภา. 2558. การศึกษาแนวทางการปฏิบัติที่ดีเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยบูรพา.
- ↑ วิจารณ์ วิชชุกิจ. 2551. เทคนิคการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังต่อไร่.https://www.tapiocathai.org/Articles/51_4.pdf. สืบค้นเมื่อ 8 พฤษภาคม 2564.
- ↑ [1]