ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจัดการโรค"

จาก Cassava
ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
มันสำปะหลังจัดเป็นพืชที่ปลูกได้ง่าย และมีการดูแลรักษาไม่ยุ่งยากเหมือนพืชชนิดอื่น นอกจากนี้ยังสามารถปลูกได้ดีในสภาพอากาศของประเทศไทย สามารถเก็บเกี่ยวได้ในช่วง 8 - 12 เดือนหลังปลูก แต่พอว่าการศึกษาเกี่ยวกับโรคของมันสำปะหลังที่ผ่านมายังไม่ค่อยได้รับความสนใจมากนัก อาจเนื่องมาจากยังไม่มีการระบาดที่ทำความเสียหายได้อย่างชัดเจน เหมือนกับการทำลายของแมลง ประกอบกับการเข้าใจผิดที่ว่ามันสำปะหลังไม่มีโรครบกวน แต่ที่จริงแล้วมีโรคไม่น้อยที่เกิดขึ้นในมันสำปะหลัง (Hillocks ''et. al''., 2002)<ref>Hillocks, R.J., M.J. Thresh and C.A. Bellotti. 2002.  Cassava: Biology, Production and Utilization. CABI Publishing. London, UK.</ref> โดยมีสาเหตุมาจากสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด ได้แก่ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคใบจุดสีน้ำตาล โรครากเน่าและหัวเน่า โรคเน่าเปียก โรครากปม (กลุ่มวิจัยโรคพืช, 2559<ref>กลุ่มวิจัยโรคพืช.  2559. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.</ref>; อุดมศักดิ์, 2555<ref>อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>; ศานิต, 2557)<ref>ศานิต สวัสดิกาญจน์.  2557.  พืชอุตสาหกรรม(Industrial Field crops).  โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. กรุงเทพมหานคร.</ref> และอาการขาดธาตุในมันสำปะหลัง ในปัจจุบันพบว่าโรคใบด่างมันสำปะหลังเกิดจากเชื้อไวรัส Cassava Mosaic Virus หากมีการระบาดรุนแรงสามารถส่งผลกระทบต่อผลผลิตมันสำปะหลังได้มากถึงร้อยละ 80 – 100 (ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ, 2563)<ref>ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ.  2563. วิเคราะห์สถานการณ์โรคใบด่างมันสำปะหลัง. สำนักงานเศรษฐกิจเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. ที่มา: <nowiki>https://www.nabc.go.th/disaster/baidang</nowiki>. 8 กุมภาพันธ์ 2564.</ref>
มันสำปะหลังจัดเป็นพืชที่ปลูกได้ง่าย และมีการดูแลรักษาไม่ยุ่งยากเหมือนพืชชนิดอื่น นอกจากนี้ยังสามารถปลูกได้ดีในสภาพอากาศของประเทศไทย สามารถเก็บเกี่ยวได้ในช่วง 8 - 12 เดือนหลังปลูก แต่พอว่าการศึกษาเกี่ยวกับโรคของมันสำปะหลังที่ผ่านมายังไม่ค่อยได้รับความสนใจมากนัก อาจเนื่องมาจากยังไม่มีการระบาดที่ทำความเสียหายได้อย่างชัดเจน เหมือนกับการทำลายของแมลง ประกอบกับการเข้าใจผิดที่ว่ามันสำปะหลังไม่มีโรครบกวน แต่ที่จริงแล้วมีโรคไม่น้อยที่เกิดขึ้นในมันสำปะหลัง (Hillocks ''et. al''., 2002)<ref>Hillocks, R.J., M.J. Thresh and C.A. Bellotti. 2002.  Cassava: Biology, Production and Utilization. CABI Publishing. London, UK.</ref> โดยมีสาเหตุมาจากสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด ได้แก่ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคใบจุดสีน้ำตาล โรครากเน่าและหัวเน่า โรคเน่าเปียก โรครากปม (กลุ่มวิจัยโรคพืช, 2559<ref>กลุ่มวิจัยโรคพืช.  2559. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.</ref>; อุดมศักดิ์, 2555<ref>อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.</ref>; ศานิต, 2557)<ref>ศานิต สวัสดิกาญจน์.  2557.  พืชอุตสาหกรรม(Industrial Field crops).  โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. กรุงเทพมหานคร.</ref> และอาการขาดธาตุในมันสำปะหลัง ในปัจจุบันพบว่าโรคใบด่างมันสำปะหลังเกิดจากเชื้อไวรัส Cassava Mosaic Virus หากมีการระบาดรุนแรงสามารถส่งผลกระทบต่อผลผลิตมันสำปะหลังได้มากถึงร้อยละ 80 – 100 (ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ, 2563)<ref>ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ.  2563. วิเคราะห์สถานการณ์โรคใบด่างมันสำปะหลัง. สำนักงานเศรษฐกิจเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. ที่มา: <nowiki>https://www.nabc.go.th/disaster/baidang</nowiki>. 8 กุมภาพันธ์ 2564.</ref>


* [[โรคใบไหม้ (Cassava bacterial blight)]]
# [[โรคใบไหม้ (Cassava bacterial blight)|'''โรคใบไหม้ (Cassava bacterial blight)''']]
* [[โรคใบจุดสีน้ำตาล (brown leaf spot disease)]]
# [[โรคใบจุดสีน้ำตาล (brown leaf spot disease)|'''โรคใบจุดสีน้ำตาล (brown leaf spot disease)''']]
* '''[[โรคใบด่างมันสำปะหลัง (Cassava mosaic disease)]]'''
# '''[[โรคใบด่างมันสำปะหลัง (Cassava mosaic disease)]]'''
* '''[[โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)]]'''
# '''[[โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)]]'''
* '''[[โรครากเน่าและหัวเน่า (Root and tuber rot)]]'''
# '''[[โรครากเน่าและหัวเน่า (Root and tuber rot)]]'''
* '''[[โรครากปมมันสำปะหลัง (cassava Root-knot)]]'''
# '''[[โรครากปมมันสำปะหลัง (cassava Root-knot)]]'''
'''[[โรคลำต้นไหม้ (stem blight disease)]]'''
#'''[[โรคลำต้นไหม้ (stem blight disease)]]'''
* '''[[โรคพุ่มแจ้ (witches broom)]]'''
#'''[[โรคพุ่มแจ้ (witches broom)]]'''
* '''[[โรคเน่าเปียก (Wet rot)]]'''
# '''[[โรคเน่าเปียก (Wet rot)]]'''


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==


*
*

รุ่นแก้ไขเมื่อ 02:45, 15 กรกฎาคม 2564

มันสำปะหลังจัดเป็นพืชที่ปลูกได้ง่าย และมีการดูแลรักษาไม่ยุ่งยากเหมือนพืชชนิดอื่น นอกจากนี้ยังสามารถปลูกได้ดีในสภาพอากาศของประเทศไทย สามารถเก็บเกี่ยวได้ในช่วง 8 - 12 เดือนหลังปลูก แต่พอว่าการศึกษาเกี่ยวกับโรคของมันสำปะหลังที่ผ่านมายังไม่ค่อยได้รับความสนใจมากนัก อาจเนื่องมาจากยังไม่มีการระบาดที่ทำความเสียหายได้อย่างชัดเจน เหมือนกับการทำลายของแมลง ประกอบกับการเข้าใจผิดที่ว่ามันสำปะหลังไม่มีโรครบกวน แต่ที่จริงแล้วมีโรคไม่น้อยที่เกิดขึ้นในมันสำปะหลัง (Hillocks et. al., 2002)[1] โดยมีสาเหตุมาจากสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด ได้แก่ โรคใบไหม้ โรคแอนแทรคโนส โรคใบจุดสีน้ำตาล โรครากเน่าและหัวเน่า โรคเน่าเปียก โรครากปม (กลุ่มวิจัยโรคพืช, 2559[2]; อุดมศักดิ์, 2555[3]; ศานิต, 2557)[4] และอาการขาดธาตุในมันสำปะหลัง ในปัจจุบันพบว่าโรคใบด่างมันสำปะหลังเกิดจากเชื้อไวรัส Cassava Mosaic Virus หากมีการระบาดรุนแรงสามารถส่งผลกระทบต่อผลผลิตมันสำปะหลังได้มากถึงร้อยละ 80 – 100 (ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ, 2563)[5]

  1. โรคใบไหม้ (Cassava bacterial blight)
  2. โรคใบจุดสีน้ำตาล (brown leaf spot disease)
  3. โรคใบด่างมันสำปะหลัง (Cassava mosaic disease)
  4. โรคแอนแทรคโนส (Anthracnose)
  5. โรครากเน่าและหัวเน่า (Root and tuber rot)
  6. โรครากปมมันสำปะหลัง (cassava Root-knot)
  7. โรคลำต้นไหม้ (stem blight disease)
  8. โรคพุ่มแจ้ (witches broom)
  9. โรคเน่าเปียก (Wet rot)

อ้างอิง

  1. Hillocks, R.J., M.J. Thresh and C.A. Bellotti. 2002.  Cassava: Biology, Production and Utilization. CABI Publishing. London, UK.
  2. กลุ่มวิจัยโรคพืช.  2559. ดรรชนีโรคพืชในประเทศไทย. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
  3. อุดมศักดิ์ เลิศสุชาตวนิช.  2555. โรคและแมลงศัตรูของมันสำปะหลัง. สุพรีมพริ้นท์ จำกัด, กรุงเทพฯ.
  4. ศานิต สวัสดิกาญจน์.  2557.  พืชอุตสาหกรรม(Industrial Field crops).  โอ.เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. กรุงเทพมหานคร.
  5. ศูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ.  2563. วิเคราะห์สถานการณ์โรคใบด่างมันสำปะหลัง. สำนักงานเศรษฐกิจเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, กรุงเทพฯ. ที่มา: https://www.nabc.go.th/disaster/baidang. 8 กุมภาพันธ์ 2564.