ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเลือกพันธุ์ปลูก"
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
บรรทัดที่ 2: | บรรทัดที่ 2: | ||
== '''พันธุ์กับชนิดของเนื้อดิน''' == | == '''พันธุ์กับชนิดของเนื้อดิน''' == | ||
ดินที่ใช้ปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ที่ปลูกกันโดยทั่วไปมักเป็นดินที่มีปฏิกิริยาเป็นกรด เนื้อหยาบ และมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เป็นดินทรายและดินร่วนปนทราย ที่มีปริมาณอินทรียวัตถุในดินต่ำถึงต่ำมาก จึงมีการเลือกพันธุ์มันสำปะหลังให้เหมาะสมกับชนิดของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินเพื่ออัตราการรอดหลังปลูกและผลผลิตที่สูงขึ้น | ดินที่ใช้ปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ที่ปลูกกันโดยทั่วไปมักเป็นดินที่มีปฏิกิริยาเป็นกรด เนื้อหยาบ และมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เป็นดินทรายและดินร่วนปนทราย ที่มีปริมาณอินทรียวัตถุในดินต่ำถึงต่ำมาก จึงมีการเลือกพันธุ์มันสำปะหลังให้เหมาะสมกับชนิดของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินเพื่ออัตราการรอดหลังปลูกและผลผลิตที่สูงขึ้น ดังตารางที่ 1 | ||
'''ตารางที่ 1''' พันธุ์มันสำปะหลังที่เหมาะสมกับชนิดของเนื้อดินแต่ละชนิด | |||
{| class="wikitable" | |||
| '''ชนิดของเนื้อดิน''' | |||
| '''ลักษณะของเนื้อดิน''' | |||
| '''พันธุ์ที่เหมาะสม''' | |||
|- | |||
|ดินทราย | |||
| | |||
* เนื้อดินมีลักษณะหยาบ (ทรายจัด) | |||
* ความอุดมสมบูรณ์ต่ำมาก | |||
* การระบายน้ำดีมาก | |||
* พบมากในภาคตะวันออกและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | |||
| | |||
* พันธุ์เกษตรศาสตร์ 50 | |||
* พันธุ์ระยอง 72 | |||
|- | |||
|ดินร่วนปนทราย | |||
| | |||
* เนื้อดินค่อนข้างหยาบ | |||
* ความอุดมสมบูรณ์ค่อนข้างต่ำ | |||
* การระบายน้ำดี | |||
* พบมากในทุกภาค | |||
| | |||
* ระยอง 7 | |||
* ระยอง 9 | |||
* ระยอง 90 | |||
* เกษตรศาสตร์ 50 | |||
* ห้วยบง 60 | |||
* ระยอง 72 | |||
|- | |||
|ดินร่วนปนเหนียว | |||
| | |||
* เนื้อดินปานกลางถึงค่อนข้างละเอียด | |||
* ความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงค่อนข้างดี | |||
* การระบายน้ำปานกลาง | |||
* พบมากในทุกภาค | |||
| | |||
* ระยอง 5 | |||
* ระยอง 7 | |||
* ระยอง 11 | |||
* ห้วยบง 80 | |||
|- | |||
|ดินด่างหรือดินที่มีปูนปะปน | |||
| | |||
* เนื้อดินปานกลาง | |||
* มีเม็ดปูนปะปนสะสมที่ความลึกตั้งแต่ 50 – 100 เซนติเมตร | |||
* ความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงสูง | |||
* การระบายน้ำปานกลางถึงดี | |||
* มักมีปัญหาการขาดธาตุเหล็ก สังกะสี กำมะถัน | |||
* พบมากตามที่ลาดเชิงเขาใกล้ภูเขาหินปูนในภาคกลาง ภาคตะวันตก และภาคเหนือ | |||
| | |||
* ระยอง 11 | |||
* ระยอง 5 | |||
|} |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 04:26, 1 กรกฎาคม 2564
การเลือกพันธุ์มันสำปะหลังที่เหมาะสำหรับปลูกในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งนั้น ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ที่สำคัญ ได้แก่ การเลือกพันธุ์ที่เหมาะสมกับลักษณะดิน พื้นที่ปลูก ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ฤดูปลูก อายุเก็บเกี่ยว และระยะปลูก ซึ่งปัจจัยเหล่านี้มีส่วนช่วยในการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง และลดต้นทุนการผลิต ดังนี้
พันธุ์กับชนิดของเนื้อดิน
ดินที่ใช้ปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ที่ปลูกกันโดยทั่วไปมักเป็นดินที่มีปฏิกิริยาเป็นกรด เนื้อหยาบ และมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ เป็นดินทรายและดินร่วนปนทราย ที่มีปริมาณอินทรียวัตถุในดินต่ำถึงต่ำมาก จึงมีการเลือกพันธุ์มันสำปะหลังให้เหมาะสมกับชนิดของเนื้อดินและความอุดมสมบูรณ์ของดินเพื่ออัตราการรอดหลังปลูกและผลผลิตที่สูงขึ้น ดังตารางที่ 1
ตารางที่ 1 พันธุ์มันสำปะหลังที่เหมาะสมกับชนิดของเนื้อดินแต่ละชนิด
ชนิดของเนื้อดิน | ลักษณะของเนื้อดิน | พันธุ์ที่เหมาะสม |
ดินทราย |
|
|
ดินร่วนปนทราย |
|
|
ดินร่วนปนเหนียว |
|
|
ดินด่างหรือดินที่มีปูนปะปน |
|
|