ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดินตามค่าวิเคราะห์ดิน"
ไปยังการนำทาง
ไปยังการค้นหา
การใส่ปุ๋ยและปรับปรุงดินตามค่าวิเคราะห์ดิน (แก้ไข)
รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:44, 18 มีนาคม 2568
, 18 มีนาคม 2568→ค่าความเค็ม
บรรทัดที่ 9: | บรรทัดที่ 9: | ||
* [[ไฟล์:Image31.png|thumb|การปลูกถั่วพร้าเป็นพืชปุ๋ยสดเพื่อเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุ (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]'''ระดับต่ำมาก (<1.0%)''' ควรมีการจัดการเพิ่มเติมอินทรียวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกโดยเฉพาะมูลไก่แกลบในอัตรา 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งนี้ควรพิจารณาเรื่องการปรับลดปุ๋ยไนโตรเจนลงบ้างเพื่อลดอาการเฝือใบ การใส่กากแป้งจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังในระยะยาวอาจส่งผลต่อการลดลงของค่าพีเอชดิน ซึ่งต้องมีการทดลองว่ามีผลต่อมันสำปะหลังอย่างไร การใช้กากแป้งที่มี C:N Ratio กว้างในปริมาณมาก ต้องระวังการเกิด N-immobilization และอาจทำให้พืชขาด N ได้ โดยเฉพาะในระยะแรก ๆ ของการเติบโตของมันสำปะหลัง ซึ่งเป็นช่วงที่จะมีผลต่อการให้ผลผลิตที่สำคัญมาก และการไถกลบเศษเหลือของพืชลงไปในดินอย่างสม่ำเสมอ หรือการไถกลบพืชปุ๋ยสดจะช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน | * [[ไฟล์:Image31.png|thumb|การปลูกถั่วพร้าเป็นพืชปุ๋ยสดเพื่อเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุ (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]'''ระดับต่ำมาก (<1.0%)''' ควรมีการจัดการเพิ่มเติมอินทรียวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกโดยเฉพาะมูลไก่แกลบในอัตรา 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ทั้งนี้ควรพิจารณาเรื่องการปรับลดปุ๋ยไนโตรเจนลงบ้างเพื่อลดอาการเฝือใบ การใส่กากแป้งจากโรงงานผลิตแป้งมันสำปะหลังในระยะยาวอาจส่งผลต่อการลดลงของค่าพีเอชดิน ซึ่งต้องมีการทดลองว่ามีผลต่อมันสำปะหลังอย่างไร การใช้กากแป้งที่มี C:N Ratio กว้างในปริมาณมาก ต้องระวังการเกิด N-immobilization และอาจทำให้พืชขาด N ได้ โดยเฉพาะในระยะแรก ๆ ของการเติบโตของมันสำปะหลัง ซึ่งเป็นช่วงที่จะมีผลต่อการให้ผลผลิตที่สำคัญมาก และการไถกลบเศษเหลือของพืชลงไปในดินอย่างสม่ำเสมอ หรือการไถกลบพืชปุ๋ยสดจะช่วยเพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุในดิน | ||
== | == ไนโตเจน == | ||
'''ไนโตรเจน (N)''' ที่เหมาะสมในดิน สามารถแบ่งออกเป็น 3 ระดับได้ดังนี้: | |||
* '''ระดับต่ำมาก''' (<0.05%) หรือ <500 mg/kg → จำเป็นต้องใส่ปุ๋ยไนโตรเจนสูง | |||
* '''ระดับปานกลาง''' (0.05-0.15%) หรือ 500-1500 mg/kg → สามารถใส่ปุ๋ยสูตรเสมอ | |||
* '''ระดับสูง''' (>0.15%) หรือ >1500 mg/kg → อาจไม่จำเป็นต้องเติมปุ๋ยไนโตรเจน | |||
'''แนวทางปรับปรุงดิน''' | |||
* ถ้าค่า '''N ต่ำ''' → ใช้ปุ๋ยไนโตรเจนสูง เช่น 46-0-0 (ยูเรีย) หรือ 21-0-0 | |||
* ถ้าค่า '''N ปานกลาง''' → ใช้ปุ๋ยสูตรเสมอ เช่น 15-15-15 หรือ 16-16-16 | |||
* ถ้าค่า '''N สูง''' → ลดการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนและเสริมด้วยอินทรียวัตถุ | |||
== ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ == | == ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ == |