ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การจัดการแมลง"

ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
 
บรรทัดที่ 6: บรรทัดที่ 6:
=== เพลี้ยแป้งลาย ===
=== เพลี้ยแป้งลาย ===
เพลี้ยแป้งลาย (Striped mealybug; ''Ferrisia virgata'' Cockerell) มีลักษณะรูปร่างลำตัวคล้ายลิ่ม ผนังลำตัวสีเทา มีผงแป้งปกคลุมลำตัวยาวเป็นเงาคล้ายเส้นใยแก้ว มีแถบดำบนลำตัว 2 แถบชัดเจน ปลายท้องมีหางคล้ายเส้นแป้ง 2 เส้น ยาวครึ่งหนึ่งของลำตัว พบการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง นอกจากนี้ยังพบการเข้าทำลายในพืชหลายชนิด เช่น มะละกอ น้อยหน่า และไม้ดอกบางชนิด เช่น ชบา เป็นต้น ที่ผ่านมาการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ยังไม่ถึงระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการควบคุมด้วยศัตรูธรรมชาติคือตัวห้ำและตัวเบียนอย่างสมดุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
เพลี้ยแป้งลาย (Striped mealybug; ''Ferrisia virgata'' Cockerell) มีลักษณะรูปร่างลำตัวคล้ายลิ่ม ผนังลำตัวสีเทา มีผงแป้งปกคลุมลำตัวยาวเป็นเงาคล้ายเส้นใยแก้ว มีแถบดำบนลำตัว 2 แถบชัดเจน ปลายท้องมีหางคล้ายเส้นแป้ง 2 เส้น ยาวครึ่งหนึ่งของลำตัว พบการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง นอกจากนี้ยังพบการเข้าทำลายในพืชหลายชนิด เช่น มะละกอ น้อยหน่า และไม้ดอกบางชนิด เช่น ชบา เป็นต้น ที่ผ่านมาการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ยังไม่ถึงระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการควบคุมด้วยศัตรูธรรมชาติคือตัวห้ำและตัวเบียนอย่างสมดุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
[[ไฟล์:Image 01.png|thumb|เพลี้ยแป้งลาย (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]
[[ไฟล์:Image 01.png|thumb|เพลี้ยแป้งลาย (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)|center]]


=== เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (เพลี้ยแป้งสีเทา) ===
=== เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (เพลี้ยแป้งสีเทา) ===
เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (Jack-beardsley mealybug; ''Pseudococcus'' ''jackbeardsleyi'' Gimpel & Miller) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเทาอมชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งเรียงกันจำนวนมาก เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว พบระบาดทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ชอบอยู่บริเวณโคนต้นหรือในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (Jack-beardsley mealybug; ''Pseudococcus'' ''jackbeardsleyi'' Gimpel & Miller) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเทาอมชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งเรียงกันจำนวนมาก เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว พบระบาดทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ชอบอยู่บริเวณโคนต้นหรือในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
[[ไฟล์:Image02.png|thumb|เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]  
[[ไฟล์:Image02.png|thumb|เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)|center]]  


=== เพลี้ยแป้งเขียว ===
=== เพลี้ยแป้งเขียว ===
เพลี้ยแป้งสีเขียว (Madeira mealybug; ''Phenococcus madeiresis'' Green) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเขียวอมเหลือง มีผงแป้งสีขาวปกคลุมบาง ๆ บนลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว และที่ลำตัวมีสันนูน 3 แนว ตามความยาวของลำตัว เส้นที่นูนที่สุดอยู่ตรงกลางลำตัว ถุงไข่ของเพลี้ยแป้งสีเขียวอยู่ส่วนหลังบนลำตัว อายุของตัวเต็มวัยขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ หากที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 30 วัน ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 46 วัน เพลี้ยแป้งสีเขียวชอบดูดกินอยู่บริเวณใบแก่ พบระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังบางพื้นที่ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
เพลี้ยแป้งสีเขียว (Madeira mealybug; ''Phenococcus madeiresis'' Green) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเขียวอมเหลือง มีผงแป้งสีขาวปกคลุมบาง ๆ บนลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว และที่ลำตัวมีสันนูน 3 แนว ตามความยาวของลำตัว เส้นที่นูนที่สุดอยู่ตรงกลางลำตัว ถุงไข่ของเพลี้ยแป้งสีเขียวอยู่ส่วนหลังบนลำตัว อายุของตัวเต็มวัยขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ หากที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 30 วัน ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 46 วัน เพลี้ยแป้งสีเขียวชอบดูดกินอยู่บริเวณใบแก่ พบระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังบางพื้นที่ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
[[ไฟล์:Image03.png|thumb|เพลี้ยแป้งสีเขียว (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]
[[ไฟล์:Image03.png|thumb|เพลี้ยแป้งสีเขียว (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)|center]]
[[ไฟล์:Image07.png|thumb|สภาพแปลงที่เพลี้ยแป้งสีชมพูเข้าทำลายอย่างรุนแรง (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]  
 
=== เพลี้ยแป้งสีชมพู ===
=== เพลี้ยแป้งสีชมพู ===
เพลี้ยแป้งสีชมพู (Pink mealybug; ''Phenococcus manihoti'' Matile&Ferrero) มีลักษณะลำตัวรูปไข่ ผนังลำตัวสีชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้นหรือไม่ปรากฏให้เห็น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องค่อนข้างสั้น ขยายพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ วางไข่อยู่ในถุงไข่ อยู่เป็นกลุ่ม เพลี้ยแป้งชนิดนี้เป็นชนิดที่สร้างความเสียหายแก่มันสำปะหลังมากที่สุด พบระบาดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2516 ที่ประเทศคองโก มีการใช้แตนเบียนควบคุมโดยใช้เวลานานกว่า 10 ปี จึงสามารถควบคุมการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพูได้ สำหรับประเทศไทยเพลี้ยแป้งชนิดนี้เริ่มระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังเมื่อปี พ.ศ. 2551 และต่อมาได้สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังอย่างรุนแรง ทำให้เกิดความเสียหายในระดับเศรษฐกิจในทุกพื้นที่ที่มีการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
เพลี้ยแป้งสีชมพู (Pink mealybug; ''Phenococcus manihoti'' Matile&Ferrero) มีลักษณะลำตัวรูปไข่ ผนังลำตัวสีชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้นหรือไม่ปรากฏให้เห็น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องค่อนข้างสั้น ขยายพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ วางไข่อยู่ในถุงไข่ อยู่เป็นกลุ่ม เพลี้ยแป้งชนิดนี้เป็นชนิดที่สร้างความเสียหายแก่มันสำปะหลังมากที่สุด พบระบาดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2516 ที่ประเทศคองโก มีการใช้แตนเบียนควบคุมโดยใช้เวลานานกว่า 10 ปี จึงสามารถควบคุมการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพูได้ สำหรับประเทศไทยเพลี้ยแป้งชนิดนี้เริ่มระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังเมื่อปี พ.ศ. 2551 และต่อมาได้สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังอย่างรุนแรง ทำให้เกิดความเสียหายในระดับเศรษฐกิจในทุกพื้นที่ที่มีการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
[[ไฟล์:Image04.png|thumb|เพลี้ยแป้งชมพูหรือเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]
[[ไฟล์:Image07.png|thumb|สภาพแปลงที่เพลี้ยแป้งสีชมพูเข้าทำลายอย่างรุนแรง (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)|left]][[ไฟล์:Image04.png|thumb|เพลี้ยแป้งชมพูหรือเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)|left]]
[[ไฟล์:Image 05.png|thumb|สภาพแปลงที่พบการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพู (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]
[[ไฟล์:Image06.png|thumb|ยอดของต้นมันสำปะหลังที่ถูกเพลี้ยแป้งสีชมพูเข้าทำลาย(ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]
[[ไฟล์:Image06.png|thumb|ยอดของต้นมันสำปะหลังที่ถูกเพลี้ยแป้งสีชมพูเข้าทำลาย(ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]


บรรทัดที่ 48: บรรทัดที่ 45:
|มากกว่า 100
|มากกว่า 100
|}
|}
[[ไฟล์:Image 05.png|thumb|สภาพแปลงที่พบการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพู (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]]
การประเมินการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้งในแปลงมันสำปะหลังดังกล่าว จะทำให้สามารถป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref>
การประเมินการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้งในแปลงมันสำปะหลังดังกล่าว จะทำให้สามารถป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref>


บรรทัดที่ 102: บรรทัดที่ 100:
   
   
== '''ไรแดง''' ==
== '''ไรแดง''' ==
ไรแดง (Mites) เป็นแมลงศัตรูที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งของมันสำปะหลัง โดยไรจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบทำให้สูญเสียคลอโรฟิลล์ ไรชนิดที่พบมากในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง คือ ไรแดงหม่อน บางคนเรียกว่า ไรแดงมันสำปะหลัง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Tetranychus truncates'' Ehara ไรชนิดนี้ดูดกินน้ำเลี้ยงอยู่ใต้ใบ ทำลายใบแก่และใบเพสลาด หากระบาดรุนแรงจะเคลื่อนย้ายไปดูดกินน้ำเลี้ยงบนยอดอ่อน สร้างเส้นใยปกคุมใบและลำต้น เมื่อไรเริ่มเข้าทำลายจะเห็นเป็นจุดประด่างเหลืองบนผิวด้านบนของใบ ถ้าเข้าทำลายอย่างรุนแรงจะทำให้ใบไหม้และขาดพรุนตรงกลางใบ ใบลู่ลงและเหี่ยวแห้ง ถ้าไรเข้าทำลายในมันสำปะหลังอายุ 1-3 เดือน อาจทำให้ใบร่วง ยอดแห้ง และตายได้ นอกจากนั้นยังพบไรอีก 2 ชนิดที่เป็นศัตรูที่สำคัญ ได้แก่ ไรแมงมุมคันซาบา (''T. kanzawai'' Kishida) และ ไรแมงมุม (''Oligonychus biharensis'' Hirst) พบระบาดรุนแรงในบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง ในอดีตพบว่า ไรแดงระบาดเป็นครั้งคราวและไม่รุนแรงมาก หากเกษตรกรพ่นสารป้องกันกำจัดไรได้ทันในขณะที่ต้นมันสำปะหลังมีขนาดเล็กก็จะยับยั้งการระบาดของไรได้  
[[ไฟล์:Image 08.png|thumb|ลักษณะอาการบนใบมันสำปะหลังเกิดจากการเข้าทำลายของไร|left]]ไรแดง (Mites) เป็นแมลงศัตรูที่สำคัญอีกชนิดหนึ่งของมันสำปะหลัง โดยไรจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบทำให้สูญเสียคลอโรฟิลล์ ไรชนิดที่พบมากในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง คือ ไรแดงหม่อน บางคนเรียกว่า ไรแดงมันสำปะหลัง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า ''Tetranychus truncates'' Ehara ไรชนิดนี้ดูดกินน้ำเลี้ยงอยู่ใต้ใบ ทำลายใบแก่และใบเพสลาด หากระบาดรุนแรงจะเคลื่อนย้ายไปดูดกินน้ำเลี้ยงบนยอดอ่อน สร้างเส้นใยปกคุมใบและลำต้น เมื่อไรเริ่มเข้าทำลายจะเห็นเป็นจุดประด่างเหลืองบนผิวด้านบนของใบ ถ้าเข้าทำลายอย่างรุนแรงจะทำให้ใบไหม้และขาดพรุนตรงกลางใบ ใบลู่ลงและเหี่ยวแห้ง ถ้าไรเข้าทำลายในมันสำปะหลังอายุ 1-3 เดือน อาจทำให้ใบร่วง ยอดแห้ง และตายได้ นอกจากนั้นยังพบไรอีก 2 ชนิดที่เป็นศัตรูที่สำคัญ ได้แก่ ไรแมงมุมคันซาบา (''T. kanzawai'' Kishida) และ ไรแมงมุม (''Oligonychus biharensis'' Hirst) พบระบาดรุนแรงในบางพื้นที่ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง ในอดีตพบว่า ไรแดงระบาดเป็นครั้งคราวและไม่รุนแรงมาก หากเกษตรกรพ่นสารป้องกันกำจัดไรได้ทันในขณะที่ต้นมันสำปะหลังมีขนาดเล็กก็จะยับยั้งการระบาดของไรได้  


=== ลักษณะอาการ ===
=== ลักษณะอาการ ===
บรรทัดที่ 109: บรรทัดที่ 107:
=== การป้องกันกำจัด ===
=== การป้องกันกำจัด ===
หลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในช่วงที่จะทำให้มันสำปะหลังกระทบแล้งตั้งแต่ช่วงต้นเล็กหรืออายุน้อยอยู่ เก็บส่วนของพืชที่มีไรอยู่ไปเผาทำลายทิ้ง ถ้าพบการระบาดของไรรุนแรง ให้ใช้สารฆ่าแมลง ได้แก่ อีโทเฟนพรอกซ์ (etofenprox) และไดโคฟอล ฉีดพ่นตามคำแนะนำในฉลาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
หลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในช่วงที่จะทำให้มันสำปะหลังกระทบแล้งตั้งแต่ช่วงต้นเล็กหรืออายุน้อยอยู่ เก็บส่วนของพืชที่มีไรอยู่ไปเผาทำลายทิ้ง ถ้าพบการระบาดของไรรุนแรง ให้ใช้สารฆ่าแมลง ได้แก่ อีโทเฟนพรอกซ์ (etofenprox) และไดโคฟอล ฉีดพ่นตามคำแนะนำในฉลาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)
[[ไฟล์:Image 08.png|thumb|ลักษณะอาการบนใบมันสำปะหลังเกิดจากการเข้าทำลายของไร]]
== '''แมลงหวี่ขาว''' ==
== '''แมลงหวี่ขาว''' ==
[[ไฟล์:Image559.png|left|thumb|510x510px|ภาพแสดงแมลงหวี่ขาวยาสูบ]]
ในมันสำปะหลังพบแมลงหวี่ขาว 2 ชนิด คือ แมลงหวี่ขาวยาสูบ ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Bemisia tabaci'' (Gennadius) และแมลงหวี่ขาวใยเกลียว ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Aleurodicus disperses'' Russell โดยแมลงหวี่ขาวใยเกลียว ตัวเต็มวัยมีขนาดประมาณ 2 มิลลิเมตร ลำตัวสีเหลืองอ่อน ปีกคลุมด้วยผงสีขาวคล้ายผงแป้ง วางไข่เป็นรูปวงกลมด้านหลังใบมันสำปะหลัง ลักษณะเป็นวงเกลียวมีเส้นใยสีขาวปกคลุม แต่ละวงจะมีไข่ประมาณ 14-26 ฟอง ระยะไข่ใช้เวลา 7 วัน ตัวอ่อนมีเส้นใยสีขาวปกคลุมทั่วลำตัว มี 4 ระยะใช้เวลา 30 วัน โดยตัวอ่อนระยะ 1 จะแขวนอยู่บนใบพืช ส่วนตัวอ่อนระยะอื่นจะไม่เคลื่อนไหว ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ 3-7 วัน ส่วนแมลงหวี่ขาวยาสูบ ตัวเต็มวัยมีความยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ลำตัวสีเหลืองอ่อน ปีกสีขาว ตาสีดำ ไข่มีขนาด 0.1-0.3 มิลลิเมตร ตัวอ่อนสีเหลืองใส ลักษณะแบนราบติดไปกับผิวใบมันสำปะหลังลอกคราบ 3 ครั้ง ระยะตัวอ่อน 11-18 วัน ดักแด้ตัวจะนูนสีเหลืองเข้มขึ้นตาสีแดง มีขนาดประมาณ 0.6-0.8 มิลลิเมตร ตัวเต็มวัยจะออกจากดักแด้ตรงรอยแตกที่ส่วนอก เพศเมียสามารถวางไข่ได้สูงสุดมากกว่าร้อยฟอง ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ 2-11 วัน มีการสืบพันธุ์แบบ parthenogenesis (การออกลูกเป็นตัวโดยไม่มีการสืบพันธุ์) (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช,  2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>
ในมันสำปะหลังพบแมลงหวี่ขาว 2 ชนิด คือ แมลงหวี่ขาวยาสูบ ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Bemisia tabaci'' (Gennadius) และแมลงหวี่ขาวใยเกลียว ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Aleurodicus disperses'' Russell โดยแมลงหวี่ขาวใยเกลียว ตัวเต็มวัยมีขนาดประมาณ 2 มิลลิเมตร ลำตัวสีเหลืองอ่อน ปีกคลุมด้วยผงสีขาวคล้ายผงแป้ง วางไข่เป็นรูปวงกลมด้านหลังใบมันสำปะหลัง ลักษณะเป็นวงเกลียวมีเส้นใยสีขาวปกคลุม แต่ละวงจะมีไข่ประมาณ 14-26 ฟอง ระยะไข่ใช้เวลา 7 วัน ตัวอ่อนมีเส้นใยสีขาวปกคลุมทั่วลำตัว มี 4 ระยะใช้เวลา 30 วัน โดยตัวอ่อนระยะ 1 จะแขวนอยู่บนใบพืช ส่วนตัวอ่อนระยะอื่นจะไม่เคลื่อนไหว ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ 3-7 วัน ส่วนแมลงหวี่ขาวยาสูบ ตัวเต็มวัยมีความยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร ลำตัวสีเหลืองอ่อน ปีกสีขาว ตาสีดำ ไข่มีขนาด 0.1-0.3 มิลลิเมตร ตัวอ่อนสีเหลืองใส ลักษณะแบนราบติดไปกับผิวใบมันสำปะหลังลอกคราบ 3 ครั้ง ระยะตัวอ่อน 11-18 วัน ดักแด้ตัวจะนูนสีเหลืองเข้มขึ้นตาสีแดง มีขนาดประมาณ 0.6-0.8 มิลลิเมตร ตัวเต็มวัยจะออกจากดักแด้ตรงรอยแตกที่ส่วนอก เพศเมียสามารถวางไข่ได้สูงสุดมากกว่าร้อยฟอง ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ 2-11 วัน มีการสืบพันธุ์แบบ parthenogenesis (การออกลูกเป็นตัวโดยไม่มีการสืบพันธุ์) (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช,  2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช.  2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref>


บรรทัดที่ 135: บรรทัดที่ 132:
== '''ปลวก''' ==
== '''ปลวก''' ==
[[ไฟล์:S 46923820.jpg|left|thumb|ลักษณะการเข้าทำลายของปลวก]]
[[ไฟล์:S 46923820.jpg|left|thumb|ลักษณะการเข้าทำลายของปลวก]]
[[ไฟล์:S 46923838.jpg|thumb|226x226px|ภาพแสดงการเข้าไปอยู่ภายในลำต้นมันสำปะหลัง]]
ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Odontotermes takensis'' (Ahmad) มีลักษณะคล้ายมดแต่มีลำตัวสีขาว มีการสร้างทางเดินที่มีดินหุ้มเพื่อรักษาความชื้น ซึ่งจะเห็นดินเป็นทางยาวตามลำต้นหรือเป็นแผ่นหุ้มทั้งลำต้น ปลวกอยู่รวมกันเป็นสังคม รังของปลวกอาจเป็นจอมปลวกเหนือดินหรือ อยู่ใต้ดิน ในฤดูแล้งมักพบปัญหาปลวกกัดกินต้นและหัวมันสำปะหลัง การทำลายของปลวกสังเกตได้จากดินที่พอกอยู่บริเวณโคนต้นมันสำปะหลัง (อุดมศักดิ์,  2555)
ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Odontotermes takensis'' (Ahmad) มีลักษณะคล้ายมดแต่มีลำตัวสีขาว มีการสร้างทางเดินที่มีดินหุ้มเพื่อรักษาความชื้น ซึ่งจะเห็นดินเป็นทางยาวตามลำต้นหรือเป็นแผ่นหุ้มทั้งลำต้น ปลวกอยู่รวมกันเป็นสังคม รังของปลวกอาจเป็นจอมปลวกเหนือดินหรือ อยู่ใต้ดิน ในฤดูแล้งมักพบปัญหาปลวกกัดกินต้นและหัวมันสำปะหลัง การทำลายของปลวกสังเกตได้จากดินที่พอกอยู่บริเวณโคนต้นมันสำปะหลัง (อุดมศักดิ์,  2555)
=== การป้องกันกำจัด ===
=== การป้องกันกำจัด ===
ทำการป้องกันก่อนการปลูกด้วยสารเคมี อิมิดาคลอพริด อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์ หากมีการระบาดในช่วงหลังปลูก ให้พ้นที่โคนต้นด้วยสาร ฟีโพรนิล อัตราส่วน 80 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร (อุดมศักดิ์,  2555)[[ไฟล์:Image13.png|thumb|ลักษณะของปลวก|center|238x238px]]
ทำการป้องกันก่อนการปลูกด้วยสารเคมี อิมิดาคลอพริด อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์ หากมีการระบาดในช่วงหลังปลูก ให้พ้นที่โคนต้นด้วยสาร ฟีโพรนิล อัตราส่วน 80 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร (อุดมศักดิ์,  2555)
 




134

การแก้ไข

รายการนำทางไซต์