ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคใบด่างมันสำปะหลัง"

ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
 
บรรทัดที่ 12: บรรทัดที่ 12:
โรคใบด่างมันสำปะหลังที่เกิดจากเชื้อไวรัสวงศ์ (Family) Geminiviridae สกุล (Genus) Begomovirus ซึ่งเป็นไวรัสที่มีอนุภาคเป็นทรงกลมคู่ (Geminate particle) มีขนาดเฉลี่ยโดยประมาณ 18x30 นาโนเมตร ลักษณะจีโนมมีจำนวน 2 โมเลกุล (Bipartite genomes) ประกอบด้วย DNA-A และ DNA-B โดยแต่ละจีโนมมีลำดับนิวคลีโอไทด์ขนาดประมาณ 2,700 เบส เป็นสายพันธุกรรมเป็นแบบดีเอ็นเอสายเดี่ยววงปิด (single stranded DNA, ssDNA) ไวรัสในวงศ์ Geminiviridae เป็นไวรัสสาเหตุโรคพืชที่สร้างความเสียหายแก่พืชทางเศรษฐกิจหลายชนิด เช่น พืชตระกูลแตง มันสำปะหลัง มะเขือเทศ และฝ้ายเป็นต้น (Yadava ''et al''., 2010) นอกจากนี้ไวรัสใบด่างมันสำปะหลังยังมีพืชอาศัยที่สามารถเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมได้ เช่น พืชในวงศ์ Euphorbiacease (สบู่ดำ และละหุ่ง) และวงศ์ Solanaceae (ยาสูบ) (<ref>Alabi, O.J., F.O. Ogbe, R. Bandyopadhyay, P.L. Kumar, A.G. Dixon, J.D. Hughes and R.A. Naidu. 2008. Alternate hosts of African cassava mosaic virus and East African cassava mosaic Cameroon virus in Nigeria. Arch Virol. 153: 1743–1747.</ref>)
โรคใบด่างมันสำปะหลังที่เกิดจากเชื้อไวรัสวงศ์ (Family) Geminiviridae สกุล (Genus) Begomovirus ซึ่งเป็นไวรัสที่มีอนุภาคเป็นทรงกลมคู่ (Geminate particle) มีขนาดเฉลี่ยโดยประมาณ 18x30 นาโนเมตร ลักษณะจีโนมมีจำนวน 2 โมเลกุล (Bipartite genomes) ประกอบด้วย DNA-A และ DNA-B โดยแต่ละจีโนมมีลำดับนิวคลีโอไทด์ขนาดประมาณ 2,700 เบส เป็นสายพันธุกรรมเป็นแบบดีเอ็นเอสายเดี่ยววงปิด (single stranded DNA, ssDNA) ไวรัสในวงศ์ Geminiviridae เป็นไวรัสสาเหตุโรคพืชที่สร้างความเสียหายแก่พืชทางเศรษฐกิจหลายชนิด เช่น พืชตระกูลแตง มันสำปะหลัง มะเขือเทศ และฝ้ายเป็นต้น (Yadava ''et al''., 2010) นอกจากนี้ไวรัสใบด่างมันสำปะหลังยังมีพืชอาศัยที่สามารถเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมได้ เช่น พืชในวงศ์ Euphorbiacease (สบู่ดำ และละหุ่ง) และวงศ์ Solanaceae (ยาสูบ) (<ref>Alabi, O.J., F.O. Ogbe, R. Bandyopadhyay, P.L. Kumar, A.G. Dixon, J.D. Hughes and R.A. Naidu. 2008. Alternate hosts of African cassava mosaic virus and East African cassava mosaic Cameroon virus in Nigeria. Arch Virol. 153: 1743–1747.</ref>)


[[ไฟล์:Image1.png|thumb|ลักษณะของเชื้อไวรัสเป็นอนุภาคทรงกลมคู่ (Geminate particle) (Zhang ''et al.,'' 2001<ref>Zhang, W., N.H. Olson, T.S. Baker, L. Faulkner, M. Agbandje-McKenna, M.I. Boulton, J.W. Davies, R. McKenna.  2001.  Structure of the Maize streak virus geminate particle. Sciencedirect. 279(2): 471-477.</ref>)|center]]
[[ไฟล์:Image1.png|thumb|ลักษณะของเชื้อไวรัสเป็นอนุภาคทรงกลมคู่ (Geminate particle) (Zhang ''et al.,'' 2001<ref>Zhang, W., N.H. Olson, T.S. Baker, L. Faulkner, M. Agbandje-McKenna, M.I. Boulton, J.W. Davies, R. McKenna.  2001.  Structure of the Maize streak virus geminate particle. Sciencedirect. 279(2): 471-477.</ref>)|center|574x574px]]
== '''ลักษณะอาการ''' ==
== '''ลักษณะอาการ''' ==
ต้นมันสำปะหลังที่เป็นโรคจะแสดงอาการ ใบด่างเหลืองและบิดงอเสียรูปทรง อาการด่างมีหลายแบบ เช่น ด่างเขียวซีดสลับเขียวเข้ม ด่างเหลือสลับเขียว ใบหงิก หรือ หงิกเหลือง ใบย่อยบิดเบี้ยวหงิกงอ โค้งเสียรูปทรง ใบอ่อนและใบที่เจริญใหม่มีขนาดเล็กลง ยอดหงิก ต้นแคระแกร็น เจริญเติบโตได้ช้า หัวมีขนาดเล็กกว่าปกติ โดยมีลักษณะที่สังเกตได้ง่ายที่สุดอยู่ที่ใบ โดยใบของต้นมันสำปะหลังจะหงิกงอ พื้นใบไม่เรียบ สีออกด่างเขียวสลับกับเหลือง ลักษณะความรุนแรงของอาการขึ้นอยู่กับอายุของต้นมันสำปะหลังขณะที่เชื้อเข้าทำลาย หากต้นมันสำปะหลังมีอายุน้อย จะพบอาการรุนแรงและชัดเจน หากต้นมันสำปะหลังได้รับเชื้อไว้รัสเมื่ออายุมาก อาการของโรคจะไม่รุนแรง ผลผลิตหัวสดอาจไม่ลดลงมาก นอกจากนี้ระดับความรุนแรงของโรคยังขึ้นอยู่กับพันธุ์มันสำปะหลังที่ปลูกอีกด้วย (<ref>ปิยะ กิตติภาดากุล, อัญชนา ท่านเจริญ, วันวิสา ศิริวรรณ์ และ สมบุญ ภาณุวัฒน์สุข.  2562.  ไทยอาจต้องเลิกปลูกมันสำปะหลังหากไม่สามารถหยุดโรคใบด่างมันสำปะหลังได้ (ตอนที่ 1). เคหการเกษตร. 43(7): 171-174.</ref>)
ต้นมันสำปะหลังที่เป็นโรคจะแสดงอาการ ใบด่างเหลืองและบิดงอเสียรูปทรง อาการด่างมีหลายแบบ เช่น ด่างเขียวซีดสลับเขียวเข้ม ด่างเหลือสลับเขียว ใบหงิก หรือ หงิกเหลือง ใบย่อยบิดเบี้ยวหงิกงอ โค้งเสียรูปทรง ใบอ่อนและใบที่เจริญใหม่มีขนาดเล็กลง ยอดหงิก ต้นแคระแกร็น เจริญเติบโตได้ช้า หัวมีขนาดเล็กกว่าปกติ โดยมีลักษณะที่สังเกตได้ง่ายที่สุดอยู่ที่ใบ โดยใบของต้นมันสำปะหลังจะหงิกงอ พื้นใบไม่เรียบ สีออกด่างเขียวสลับกับเหลือง ลักษณะความรุนแรงของอาการขึ้นอยู่กับอายุของต้นมันสำปะหลังขณะที่เชื้อเข้าทำลาย หากต้นมันสำปะหลังมีอายุน้อย จะพบอาการรุนแรงและชัดเจน หากต้นมันสำปะหลังได้รับเชื้อไว้รัสเมื่ออายุมาก อาการของโรคจะไม่รุนแรง ผลผลิตหัวสดอาจไม่ลดลงมาก นอกจากนี้ระดับความรุนแรงของโรคยังขึ้นอยู่กับพันธุ์มันสำปะหลังที่ปลูกอีกด้วย (<ref>ปิยะ กิตติภาดากุล, อัญชนา ท่านเจริญ, วันวิสา ศิริวรรณ์ และ สมบุญ ภาณุวัฒน์สุข.  2562.  ไทยอาจต้องเลิกปลูกมันสำปะหลังหากไม่สามารถหยุดโรคใบด่างมันสำปะหลังได้ (ตอนที่ 1). เคหการเกษตร. 43(7): 171-174.</ref>)
[[ไฟล์:Image2.png|thumb|แสดงลักษณะอาการโรคใบด่างมันสำปะหลัง|center]]
[[ไฟล์:แสดงลักษณะอาการโรคใบด่างมันสำปะหลัง.png|center|thumb|916x916px|แสดงลักษณะอาการโรคใบด่างมันสำปะหลัง]]
 
== '''การประเมินโรค''' ==
== '''การประเมินโรค''' ==
การประเมินโรคใบด่างมันสำปะหลังมีการประเมินอัตราการเกิดโรคในมันสำปะหลังที่มีอายุ 1 เดือน และทำการประเมินทุกเดือนจนกระทั่งมันสำปะหลังมีอายุครบ 4 เดือน การประเมินโรคทำโดยสำรวจมันสำปะหลังทุต้น จดบันทึกจำนวนต้นที่เป็นโรค ลักษณะอาการ ระดับความรุนแรง สาเหตุการติดเชื้อไวรัส (ท่อนพันธุ์หรือแมลงหวี่ขาว) โดยอ้างอิงจาก (<ref>Waller, J.M., J.M. Lenné and S.J. Waller. 2002. Plant Pathologist’s Pocketbook. CABI Pub., New York, USA. 528 pp. (การประเมินโรค)</ref>)
การประเมินโรคใบด่างมันสำปะหลังมีการประเมินอัตราการเกิดโรคในมันสำปะหลังที่มีอายุ 1 เดือน และทำการประเมินทุกเดือนจนกระทั่งมันสำปะหลังมีอายุครบ 4 เดือน การประเมินโรคทำโดยสำรวจมันสำปะหลังทุต้น จดบันทึกจำนวนต้นที่เป็นโรค ลักษณะอาการ ระดับความรุนแรง สาเหตุการติดเชื้อไวรัส (ท่อนพันธุ์หรือแมลงหวี่ขาว) โดยอ้างอิงจาก (<ref>Waller, J.M., J.M. Lenné and S.J. Waller. 2002. Plant Pathologist’s Pocketbook. CABI Pub., New York, USA. 528 pp. (การประเมินโรค)</ref>)
[[ไฟล์:Image3.png|thumb|แสดงระดับความรุนแรงของโรค 5 ระดับ ]]
 
อัตราการเกิดโรค = จำนวนพืชที่เป็นโรค x 100
อัตราการเกิดโรค = จำนวนพืชที่เป็นโรค x 100


บรรทัดที่ 25: บรรทัดที่ 24:


       ระดับความรุนแรงของโรค (Disease severity) อ้างอิงจาก Terry (1976) <ref>Terry,  E.  1976.  Description  and evaluation  of  cassava mosaic  disease  in Africa. In  Proc.  An Interdisciplinary Workshop. Ibadan, Nigeria. pp. 53–54. (ระดับความรุนแรงโรค)</ref>ซึ่งแบ่งระดับความรุนแรงออกเป็น 5 ระดับ คือ ระดับ 1 ไม่แสดงอาการของโรค (Highly resistant) ระดับ 2 แสดงอาการด่างเล็กน้อยบนแผ่นใบ (Moderately resistant) ระดับ 3 แสดงอาการด่างเต็มบนแผ่นใบ และใบเริ่มม้วน ลดรูป (Tolerant) ระดับ 4  แสดงอาการด่างทั่วทั้งใบ  ใบบิดม้วนงอ เริ่มลดรูป (Susceptible) และระดับ 5 แสดงอาการใบบิดม้วนงอ ใบลดรูปอย่างรุนแรง (Highly susceptible) (<ref>วันวิสา ศิริวรรณ์.  2561.  โรคไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง. ที่มา: <nowiki>https://www.tapiocathai.org/P.html</nowiki>. วันที่สืบค้น 11 กุมภาพันธ์ 2563.</ref>)
       ระดับความรุนแรงของโรค (Disease severity) อ้างอิงจาก Terry (1976) <ref>Terry,  E.  1976.  Description  and evaluation  of  cassava mosaic  disease  in Africa. In  Proc.  An Interdisciplinary Workshop. Ibadan, Nigeria. pp. 53–54. (ระดับความรุนแรงโรค)</ref>ซึ่งแบ่งระดับความรุนแรงออกเป็น 5 ระดับ คือ ระดับ 1 ไม่แสดงอาการของโรค (Highly resistant) ระดับ 2 แสดงอาการด่างเล็กน้อยบนแผ่นใบ (Moderately resistant) ระดับ 3 แสดงอาการด่างเต็มบนแผ่นใบ และใบเริ่มม้วน ลดรูป (Tolerant) ระดับ 4  แสดงอาการด่างทั่วทั้งใบ  ใบบิดม้วนงอ เริ่มลดรูป (Susceptible) และระดับ 5 แสดงอาการใบบิดม้วนงอ ใบลดรูปอย่างรุนแรง (Highly susceptible) (<ref>วันวิสา ศิริวรรณ์.  2561.  โรคไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง. ที่มา: <nowiki>https://www.tapiocathai.org/P.html</nowiki>. วันที่สืบค้น 11 กุมภาพันธ์ 2563.</ref>)
[[ไฟล์:Image568.png|center|thumb|910x910px|แสดงระดับความรุนแรงของโรค 5 ระดับ ]]


== '''การแพร่ระบาด''' ==
== '''การแพร่ระบาด''' ==
134

การแก้ไข

รายการนำทางไซต์