223
การแก้ไข
บรรทัดที่ 21: | บรรทัดที่ 21: | ||
== '''การทำแปลงขยายพันธุ์แบบปกติ''' <ref name=":0" /> == | == '''การทำแปลงขยายพันธุ์แบบปกติ''' <ref name=":0" /> == | ||
=== | === การปลูกด้วยท่อนพันธุ์ === | ||
ปลูกมันสำปะหลังด้วยท่อนพันธุ์ที่มีความยาวประมาณ 20 – 25 เซนติเมตร ระยะปลูก ระยะปลูกมันสำปะหลังสามารถปลูกได้ตั้งแต่ระยะ 60 X 60 เซนติเมตร จนถึง 120 X 120 เซนติเมตร โดยระยะ 100 X 100 เซนติเมตร จะมีแนวโน้มให้ผลผลิตสูงกว่าระยะอื่นๆ แต่ถ้าหากเกษตรกรมีการใช้เครื่องทุ่นแรงระยะปลูกระหว่างแถว X ต้น อาจใช้ 120 X 80 เซนติเมตร เพื่อสะดวกในการใช้เครื่องทุ่นแรง<ref name=":2">ไกวัล กล้าแข็ง และวิลาวัลย์ วงษ์เกษม. 2548. การปลูกมันสำปะหลัง. กรมส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี.</ref> วิธีการปลูกมันสำปะหลังของเกษตรกรมี ดังนี้ คือ | ปลูกมันสำปะหลังด้วยท่อนพันธุ์ที่มีความยาวประมาณ 20 – 25 เซนติเมตร ระยะปลูก ระยะปลูกมันสำปะหลังสามารถปลูกได้ตั้งแต่ระยะ 60 X 60 เซนติเมตร จนถึง 120 X 120 เซนติเมตร โดยระยะ 100 X 100 เซนติเมตร จะมีแนวโน้มให้ผลผลิตสูงกว่าระยะอื่นๆ แต่ถ้าหากเกษตรกรมีการใช้เครื่องทุ่นแรงระยะปลูกระหว่างแถว X ต้น อาจใช้ 120 X 80 เซนติเมตร เพื่อสะดวกในการใช้เครื่องทุ่นแรง<ref name=":2">ไกวัล กล้าแข็ง และวิลาวัลย์ วงษ์เกษม. 2548. การปลูกมันสำปะหลัง. กรมส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี.</ref> วิธีการปลูกมันสำปะหลังของเกษตรกรมี ดังนี้ คือ | ||
บรรทัดที่ 41: | บรรทัดที่ 41: | ||
[[ไฟล์:Untitled-1.png|center|thumb|400x400px|ภาพแสดงต้นพันธุ์ที่มีการตัดยอดเพื่อเพิ่มจำนวนลำต่อต้น (A) เปรียบเทียบกับต้นพันธุ์ปกติที่ไม่มีการตัดยอดเมื่ออายุน้อย (B)(ภาพจาก ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง)]] | [[ไฟล์:Untitled-1.png|center|thumb|400x400px|ภาพแสดงต้นพันธุ์ที่มีการตัดยอดเพื่อเพิ่มจำนวนลำต่อต้น (A) เปรียบเทียบกับต้นพันธุ์ปกติที่ไม่มีการตัดยอดเมื่ออายุน้อย (B)(ภาพจาก ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง)]] | ||
=== | === การขยายพันธุ์โดยใช้ท่อนพันธุ์สั้น === | ||
ท่อนพันธุ์ที่ใช้ปลูกปกติมีความยาวประมาณ 20 – 25 เซนติเมตร ดังนั้นมันสำปะหลัง 1 ลำที่มีความยาวประมาณ 100 – 120 เซนติเมตร จะสามารถตัดได้เพียง 4 – 6 ท่อนเท่านั้น แต่หากตัดท่อนพันธุ์ให้สั้นลงเป็นท่อนละ 5 เซนติเมตร จะได้ปริมาณท่อนพันธุ์มากถึง 20 – 25 ท่อน หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 5 เท่า ภายในระยะเวลาเท่ากัน แต่การปลูกท่อนพันธุ์สั้นในสภาพแปลงมีผลให้ความงอกต่ำ ดังนั้นจึงมีวิธีการปฏิบัติดังนี้ | ท่อนพันธุ์ที่ใช้ปลูกปกติมีความยาวประมาณ 20 – 25 เซนติเมตร ดังนั้นมันสำปะหลัง 1 ลำที่มีความยาวประมาณ 100 – 120 เซนติเมตร จะสามารถตัดได้เพียง 4 – 6 ท่อนเท่านั้น แต่หากตัดท่อนพันธุ์ให้สั้นลงเป็นท่อนละ 5 เซนติเมตร จะได้ปริมาณท่อนพันธุ์มากถึง 20 – 25 ท่อน หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 5 เท่า ภายในระยะเวลาเท่ากัน แต่การปลูกท่อนพันธุ์สั้นในสภาพแปลงมีผลให้ความงอกต่ำ ดังนั้นจึงมีวิธีการปฏิบัติดังนี้ | ||
บรรทัดที่ 54: | บรรทัดที่ 54: | ||
[[ไฟล์:Imageตัดท่อนพันธุ์สั้นใส่ถุงเพาะ.png|center|thumb|ภาพแสดงการขยายโดยใช้ท่อนพันธุ์สั้น (ต่อ)(ภาพจาก ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง)]] | [[ไฟล์:Imageตัดท่อนพันธุ์สั้นใส่ถุงเพาะ.png|center|thumb|ภาพแสดงการขยายโดยใช้ท่อนพันธุ์สั้น (ต่อ)(ภาพจาก ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง)]] | ||
=== | === การขยายพันธุ์โดยใช้ท่อนพันธุ์สั้น และตัดยอดต้นอ่อน === | ||
เป็นวิธีผสมผสานระหว่างการใช้ท่อนพันธุ์สั้นและการตัดยอดต้นอ่อนมาปลูก เพื่อให้ได้อัตราการขยายพันธุ์ที่สูงขึ้น สามารถลดข้อจำกัดหรืออุปสรรคในขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีอยู่ของ 2 วิธีการข้างต้น ซึ่งสามารถปฏิบัติได้ตามขั้นตอน ดังนี้ | เป็นวิธีผสมผสานระหว่างการใช้ท่อนพันธุ์สั้นและการตัดยอดต้นอ่อนมาปลูก เพื่อให้ได้อัตราการขยายพันธุ์ที่สูงขึ้น สามารถลดข้อจำกัดหรืออุปสรรคในขั้นตอนการปฏิบัติงานที่มีอยู่ของ 2 วิธีการข้างต้น ซึ่งสามารถปฏิบัติได้ตามขั้นตอน ดังนี้ | ||
การแก้ไข