223
การแก้ไข
บรรทัดที่ 25: | บรรทัดที่ 25: | ||
* '''การปลูกแบบนอน''' (ปัจจุบันไม่นิยมปลูกด้วยวิธีนี้) เป็นวิธีการปลูกแบบเก่า เพราะต้นมันสำปะหลังจะงอกโผล่พ้นดินช้ากว่าวัชพืช ทำให้การกำจัดวัชพืชลำบากมากขึ้น แต่มีข้อดี คือ ถ้าดินมีความชื้นน้อยการปลูกด้วยวิธีนี้จะทำให้มีจำนวนต้นอยู่รอดมาก และไม่ต้องระวังว่าจะปลูกโดยเอายอดลงดินซึ่งจะทำให้ตาไม่งอก | * '''การปลูกแบบนอน''' (ปัจจุบันไม่นิยมปลูกด้วยวิธีนี้) เป็นวิธีการปลูกแบบเก่า เพราะต้นมันสำปะหลังจะงอกโผล่พ้นดินช้ากว่าวัชพืช ทำให้การกำจัดวัชพืชลำบากมากขึ้น แต่มีข้อดี คือ ถ้าดินมีความชื้นน้อยการปลูกด้วยวิธีนี้จะทำให้มีจำนวนต้นอยู่รอดมาก และไม่ต้องระวังว่าจะปลูกโดยเอายอดลงดินซึ่งจะทำให้ตาไม่งอก | ||
* '''การปลูกแบบปัก''' การปลูกแบบปักจะให้ผลดีกว่าการปลูกแนวนอน เนื่องจากมันสำปะหลังงอกได้เร็วกว่า สม่ำเสมอกว่า สะดวกต่อการปลูกซ่อม และกำจัดวัชพืช ในฤดูฝน ถ้าพื้นที่แฉะควรยกร่องและปลูกบนสันร่อง ถ้าดินระบายน้ำดีปลูกบนพื้นที่ราบก็ได้ การปักท่อนพันธุ์ตั้งตรงหรือเอียงให้ลึกประมาณ 10 – 15 เซนติเมตร สำหรับการปลูกในฤดูแล้งไม่จำเป็นต้องยกร่องแต่ควรปักตั้งตรงหรือเอียง ให้ลึกกว่าการปลูกในฤดูฝน 10 – 15 เซนติเมตร จะช่วยให้ท่อนพันธุ์มีความงอกและมีความอยู่รอดสูง ส่วนการปลูกในพื้นที่ที่มีความเอียง ควรปลูกโดยการยกร่องขวางแนวลาดเอียง | * '''การปลูกแบบปัก''' การปลูกแบบปักจะให้ผลดีกว่าการปลูกแนวนอน เนื่องจากมันสำปะหลังงอกได้เร็วกว่า สม่ำเสมอกว่า สะดวกต่อการปลูกซ่อม และกำจัดวัชพืช ในฤดูฝน ถ้าพื้นที่แฉะควรยกร่องและปลูกบนสันร่อง ถ้าดินระบายน้ำดีปลูกบนพื้นที่ราบก็ได้ การปักท่อนพันธุ์ตั้งตรงหรือเอียงให้ลึกประมาณ 10 – 15 เซนติเมตร สำหรับการปลูกในฤดูแล้งไม่จำเป็นต้องยกร่องแต่ควรปักตั้งตรงหรือเอียง ให้ลึกกว่าการปลูกในฤดูฝน 10 – 15 เซนติเมตร<ref>ไกวัล กล้าแข็ง. 2551. คู่มือนักวิชาการส่งเสริมการเกษตรมันสำปะหลัง. สำนักส่งเสริมและจัดการสินค้าเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร</ref> จะช่วยให้ท่อนพันธุ์มีความงอกและมีความอยู่รอดสูง ส่วนการปลูกในพื้นที่ที่มีความเอียง ควรปลูกโดยการยกร่องขวางแนวลาดเอียง | ||
== '''การทำแปลงขยายต้นพันธุ์แบบเร่งรัด''' <ref name=":0" /> == | == '''การทำแปลงขยายต้นพันธุ์แบบเร่งรัด''' <ref name=":0" /> == |
การแก้ไข