ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช"

ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
บรรทัดที่ 1: บรรทัดที่ 1:
ในการปลูกมันสำปะหลังในช่วงระยะเวลา 1 ปี มีศัตรูพืชเข้าขัดขวางการเจริญของมันสำปะหลังหลากหลายชนิด ดังเช่นเชื้อโรค แมลง และวัชพืช เมื่อเข้าทำลายส่งผลให้มีปริมาณผลผลิตลดลงหรือพืชเกิดอาการผิดปกติ ดังนั้นในการควบคุมโรค แมลง และวัชพืช ดังกล่าวจึงมีด้วยกันหลายวิธีทั้งการใช้สารเคมีในการควบคุมหรือการควบคุมทางชีวภาพ โดยมีการจำแนกดังนี้  
ในการปลูกมันสำปะหลังในช่วงระยะเวลา 1 ปี มีศัตรูพืชเข้าขัดขวางการเจริญของมันสำปะหลังหลากหลายชนิด ดังเช่นเชื้อโรค แมลง และวัชพืช เมื่อเข้าทำลายส่งผลให้มีปริมาณผลผลิตลดลงหรือพืชเกิดอาการผิดปกติ ดังนั้นในการควบคุมโรค แมลง และวัชพืช ดังกล่าวจึงมีด้วยกันหลายวิธีทั้งการใช้สารเคมีในการควบคุมหรือการควบคุมทางชีวภาพ โดยมีการจำแนกดังนี้  


== การจำแนกสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช ==
== '''การจำแนกสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช''' ==


# การจำแนกตามชนิดของศัตรูพืชที่ต้องการควบคุม
# การจำแนกตามชนิดของศัตรูพืชที่ต้องการควบคุม
บรรทัดที่ 16: บรรทัดที่ 16:
##เชื้อจุลินทรีย์ (Microbial Pesticides) เป็นสารป้องกันและกำจัดศัตรูพืชที่ได้มาจากจุลินทรีย์ต่างๆ ได้แก่ เชื้อไวรัส เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย สารป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ในกลุ่มนี้ได้แก่ เชื้อไวรัส Nuclear Polyhedriosis Virus (NPV) เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า เชื้อราบิวเวอเรีย เป็นต้น
##เชื้อจุลินทรีย์ (Microbial Pesticides) เป็นสารป้องกันและกำจัดศัตรูพืชที่ได้มาจากจุลินทรีย์ต่างๆ ได้แก่ เชื้อไวรัส เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย สารป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ในกลุ่มนี้ได้แก่ เชื้อไวรัส Nuclear Polyhedriosis Virus (NPV) เชื้อราไตรโคเดอร์ม่า เชื้อราบิวเวอเรีย เป็นต้น


== การใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้อง ==
== '''การใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชอย่างถูกต้อง''' ==
ในการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชในแปลงปลูกสิ่งที่ต้องคำนึงในระดับต้นคือความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในแปลง โดยสารเคมีที่ใช้ส่งผลต่อมนุษย์ได้หลายระดับ อาจส่งผลต่อสุขภาพในอนาคตได้ ดังนั้นควรมีข้อปฏิบัติดังนี้
ในการใช้สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืชในแปลงปลูกสิ่งที่ต้องคำนึงในระดับต้นคือความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในแปลง โดยสารเคมีที่ใช้ส่งผลต่อมนุษย์ได้หลายระดับ อาจส่งผลต่อสุขภาพในอนาคตได้ ดังนั้นควรมีข้อปฏิบัติดังนี้


บรรทัดที่ 33: บรรทัดที่ 33:
# ภาชนะบรรจุสารกำจัดศัตรูพืชเมื่อใช้หมดแล้วให้ทำลาย (ฤทธิชาติ, ม.ป.พ.)
# ภาชนะบรรจุสารกำจัดศัตรูพืชเมื่อใช้หมดแล้วให้ทำลาย (ฤทธิชาติ, ม.ป.พ.)


== การใช้สารเคมีอย่างมีประสิทธิภาพ ==
== '''การใช้สารเคมีอย่างมีประสิทธิภาพ''' ==


# ใช้ในอัตราส่วน ช่วงเวลาการใช้ และจำนวนครั้งตามคำแนะนำหน้าฉลาก
# ใช้ในอัตราส่วน ช่วงเวลาการใช้ และจำนวนครั้งตามคำแนะนำหน้าฉลาก
# ใช้สารเคมีให้ตรงกับชนิดของศัตรูพืช ถูกประเภท และถูกวิธี
# ใช้สารเคมีให้ตรงกับชนิดของศัตรูพืช ถูกประเภท และถูกวิธี


== สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช ==
== '''สารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช''' ==
แบ่งออกได้ 3 หัวข้อหลัก ดังนี้
แบ่งออกได้ 3 หัวข้อหลัก ดังนี้


[[สารเคมีป้องกันกำจัดแมลง]]
=== สารเคมีป้องกันกำจัดแมลง ===
== การแบ่งกลุ่มของสารฆ่าแมลงตามช่องทางการเข้าทำลาย ==
 
==== การแบ่งกลุ่มของสารฆ่าแมลงตามช่องทางการเข้าทำลาย ====
สารฆ่าแมลงในที่นี้จะรวมทั้งสารกำจัดไรศัตรูพืชด้วย เนื่องจากมีสารฆ่าแมลงบางชนิดสามารถใช้กำจัดไรศัตรูพืชได้ด้วย เนื่องจากไรจัดอยู่ในกลุ่มแมล สัตว์มี 8 ขา ดังนั้นก่อนการเลือกซื้อควรอ่านฉลากให้ดีว่าสามารถใช้กับชนิดของศัตรูพืชใดได้บ้าง แบ่งตามลักษณะการเข้าทำลายดังนี้
สารฆ่าแมลงในที่นี้จะรวมทั้งสารกำจัดไรศัตรูพืชด้วย เนื่องจากมีสารฆ่าแมลงบางชนิดสามารถใช้กำจัดไรศัตรูพืชได้ด้วย เนื่องจากไรจัดอยู่ในกลุ่มแมล สัตว์มี 8 ขา ดังนั้นก่อนการเลือกซื้อควรอ่านฉลากให้ดีว่าสามารถใช้กับชนิดของศัตรูพืชใดได้บ้าง แบ่งตามลักษณะการเข้าทำลายดังนี้


บรรทัดที่ 49: บรรทัดที่ 50:
## ทางราก (Passing the root) กลุ่มสาร Neonicotinoids นีโอนิโคตินอยด์ มีประสิทธิภาพในการกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลได้ด้วย เป็นสารฆ่าแมลงกลุ่มหนึ่งซึ่งมีการเข้าทำลายแมลงที่ระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้แมลงเป็นอัมพาตและตายภายใน 2-3 ชั่วโมง คล้ายกับสารนิโคตินซึ่งได้จากธรรมชาติ มีผลน้อยต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แต่มีพิษต่อผึ้งสูง สารไทอะมีโธแซมมีสูตรโครงสร้างแตกต่างจากสารนีโอนิโคตินอยด์อื่นๆเล็กน้อย โดยมีการละลายน้ำสูง และสามารถดูดซึมในลำต้นพืชได้ทันที
## ทางราก (Passing the root) กลุ่มสาร Neonicotinoids นีโอนิโคตินอยด์ มีประสิทธิภาพในการกำจัดเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลได้ด้วย เป็นสารฆ่าแมลงกลุ่มหนึ่งซึ่งมีการเข้าทำลายแมลงที่ระบบประสาทส่วนกลาง ทำให้แมลงเป็นอัมพาตและตายภายใน 2-3 ชั่วโมง คล้ายกับสารนิโคตินซึ่งได้จากธรรมชาติ มีผลน้อยต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม แต่มีพิษต่อผึ้งสูง สารไทอะมีโธแซมมีสูตรโครงสร้างแตกต่างจากสารนีโอนิโคตินอยด์อื่นๆเล็กน้อย โดยมีการละลายน้ำสูง และสามารถดูดซึมในลำต้นพืชได้ทันที
## ทางใบ (Passing the leaf) ได้แก่สารส่วนใหญ่ในกลุ่มออร์แกนโนฟอสเฟต (Organophosphate) คาร์บาเมท (Carbamate) เช่น ไดเมโทเอต dimethoate, พิริมิคาร์บ pirimicarb และ ออกซามิล oxamyl เป็นต้น สารบางชนิดออกฤทธิ์แบบแทรกซึม ส่วนใหญ่มีการเคลื่นที่เป็นระยะทางสั้นๆ จากจุดที่พ่น เช่นเคลื่อนที่แทรกซึมผ่านผิวใบจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง เช่น อะบาเม็กติน abamectin, ไพรีพรอกซีนเฟน pyriproxyfen เป็นต้น
## ทางใบ (Passing the leaf) ได้แก่สารส่วนใหญ่ในกลุ่มออร์แกนโนฟอสเฟต (Organophosphate) คาร์บาเมท (Carbamate) เช่น ไดเมโทเอต dimethoate, พิริมิคาร์บ pirimicarb และ ออกซามิล oxamyl เป็นต้น สารบางชนิดออกฤทธิ์แบบแทรกซึม ส่วนใหญ่มีการเคลื่นที่เป็นระยะทางสั้นๆ จากจุดที่พ่น เช่นเคลื่อนที่แทรกซึมผ่านผิวใบจากด้านหนึ่งไปอีกด้านหนึ่ง เช่น อะบาเม็กติน abamectin, ไพรีพรอกซีนเฟน pyriproxyfen เป็นต้น
## สารประเภทสารรม (Fumigant) สารเคมีกลุ่มนี้มีคุณสมบัติในการระเหยเป็นไอได้ดี โดยทั่วไปไม่สามารถนำมาฉีดพ่นได้ มักใช้ในโรงเก็บที่มีผ้าใบ หรือพลาสติกคลุมมิดชิด เช่น เมทิลโบร์ไมด์ Methyl bromide, อลูมิเนียมฟอสไฟด์ Aluminium phosphide และ แมกนีเซียมฟอสไฟล์ Magnesium phosphide (พิสุทธิ์, 2563)<ref>พิสุทธ์ เอกอำนวย.  2563. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 7. สายธุรกิจโรงพิมพ์, กรุงเทพฯ, 1005 หน้า.</ref>
## สารประเภทสารรม (Fumigant) สารเคมีกลุ่มนี้มีคุณสมบัติในการระเหยเป็นไอได้ดี โดยทั่วไปไม่สามารถนำมาฉีดพ่นได้ มักใช้ในโรงเก็บที่มีผ้าใบ หรือพลาสติกคลุมมิดชิด เช่น เมทิลโบร์ไมด์ Methyl bromide, อลูมิเนียมฟอสไฟด์ Aluminium phosphide และ แมกนีเซียมฟอสไฟล์ Magnesium phosphide (พิสุทธิ์, 2563)<ref>พิสุทธ์ เอกอำนวย.  2563. โรคและแมลงศัตรูพืชที่สำคัญ. พิมพ์ครั้งที่ 7. สายธุรกิจโรงพิมพ์, กรุงเทพฯ, 1005 หน้า.</ref><br />
 
== อ้างอิง ==
 
*
 
 
 
[[สารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืช]]


=== สารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืช ===
แบ่งกลุ่มสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืชตามคุณสมบัติดังนี้
แบ่งกลุ่มสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืชตามคุณสมบัติดังนี้


== ตามการออกฤทธิ์ต่อเชื้อสาเหตุโรคพืชแต่ละชนิด ==
==== ตามการออกฤทธิ์ต่อเชื้อสาเหตุโรคพืชแต่ละชนิด ====
เนื่องจากโรคพืชที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตจะเกิดจากเชื้อจุลินทรีย์หลัก จึงมีการแบ่งประเภทสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืชตามชนิดของเชื้อสาเหตุโรคพืชต่างๆ ดังนี้
เนื่องจากโรคพืชที่เกิดจากสิ่งมีชีวิตจะเกิดจากเชื้อจุลินทรีย์หลัก จึงมีการแบ่งประเภทสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืชตามชนิดของเชื้อสาเหตุโรคพืชต่างๆ ดังนี้


บรรทัดที่ 69: บรรทัดที่ 63:
# สารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อไวรัส
# สารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อไวรัส


== การแบ่งประเภทสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืชตามบทบาทในการป้องกันกำจัดโรคพืช ==
==== การแบ่งประเภทสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืชตามบทบาทในการป้องกันกำจัดโรคพืช ====


# สารที่มีคุณสมบัติป้องกัน (Preventative activity) คือสารเคมีที่มีคุณสมบัติป้องกันไม่ให้เชื้อสาเหตุโรคพืชเข้าทำลาย โดยเมื่อฉีดพ่นสารเหล่านี้จะอยู่ที่ใบ เมื่อสปอร์เชื้อราตกลงบนใบพืชและงอกเป็น germ tube มาสัมผัสกับสารในกลุ่มนี้ที่อยู่บนใบ germ tube จะตายหรือไม่สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ
# สารที่มีคุณสมบัติป้องกัน (Preventative activity) คือสารเคมีที่มีคุณสมบัติป้องกันไม่ให้เชื้อสาเหตุโรคพืชเข้าทำลาย โดยเมื่อฉีดพ่นสารเหล่านี้จะอยู่ที่ใบ เมื่อสปอร์เชื้อราตกลงบนใบพืชและงอกเป็น germ tube มาสัมผัสกับสารในกลุ่มนี้ที่อยู่บนใบ germ tube จะตายหรือไม่สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ
บรรทัดที่ 75: บรรทัดที่ 69:
# สารที่มีคุณสมบัติกำจัด (Eradicative activity) สารกลุ่มนี้มีความสามารถในการดูดซึมเข้าไปในเซลล์พืชและเคลื่อนที่ได้ในระยะใกล้ภายในใบ หรือระยะไกลสู่ยอดหรือราก สารชนิดนี้สามารถยับยั้งการพัฒนาของโรค ยับยั้งการเจริญของเชื้อในเซลล์พืช ยับยั้งการสร้างสปอร์หรือส่วนขยายพันธุ์ จำทำให้ลดการแพร่กระจายของเชื้อสาเหตุโรคพืชได้ด้วย
# สารที่มีคุณสมบัติกำจัด (Eradicative activity) สารกลุ่มนี้มีความสามารถในการดูดซึมเข้าไปในเซลล์พืชและเคลื่อนที่ได้ในระยะใกล้ภายในใบ หรือระยะไกลสู่ยอดหรือราก สารชนิดนี้สามารถยับยั้งการพัฒนาของโรค ยับยั้งการเจริญของเชื้อในเซลล์พืช ยับยั้งการสร้างสปอร์หรือส่วนขยายพันธุ์ จำทำให้ลดการแพร่กระจายของเชื้อสาเหตุโรคพืชได้ด้วย


== การแบ่งประเภทของสารเคมีตามคุณสมบัติการเคลื่อนย้ายในพืช ==
==== การแบ่งประเภทของสารเคมีตามคุณสมบัติการเคลื่อนย้ายในพืช ====


# สารประเภทสัมผัสตาย (Contact fungicides) สารประเภทนี้เมื่อฉีดพ่นสารจะตกค้างอยู่ที่ผิวใบ เมื่อสปอร์ตกลงบนใบเมื่องอก germ tube จะตายหรือไม่สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ
# สารประเภทสัมผัสตาย (Contact fungicides) สารประเภทนี้เมื่อฉีดพ่นสารจะตกค้างอยู่ที่ผิวใบ เมื่อสปอร์ตกลงบนใบเมื่องอก germ tube จะตายหรือไม่สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติ
บรรทัดที่ 86: บรรทัดที่ 80:
# สารชนิดไม่ดูดซึม (Non-systemic fungicides) เป็นสารที่มีคุณสมบัติป้องกัน เมื่อฉีดพ่นสารจะอยู่ที่ผิวใบไม่สามารถแทรกซึมหรือถูกดูดซึมเข้าสู่ภายในต้นพืช การแพร่กระจายของสารอาจเกิดขึ้นพียงเล็กน้อยในรูปของไอระเหยหรือโดยการไหลไปตามน้ำ
# สารชนิดไม่ดูดซึม (Non-systemic fungicides) เป็นสารที่มีคุณสมบัติป้องกัน เมื่อฉีดพ่นสารจะอยู่ที่ผิวใบไม่สามารถแทรกซึมหรือถูกดูดซึมเข้าสู่ภายในต้นพืช การแพร่กระจายของสารอาจเกิดขึ้นพียงเล็กน้อยในรูปของไอระเหยหรือโดยการไหลไปตามน้ำ


== การแบ่งประเภทสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืชตามกลไกการออกฤทธิ์ในกิจกรรมเมตาบอไลต์ในเซลล์ของเชื้อสาเหตุโรคพืช (Breadth of metabolic activity) ==
==== การแบ่งประเภทสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืชตามกลไกการออกฤทธิ์ในกิจกรรมเมตาบอไลต์ในเซลล์ของเชื้อสาเหตุโรคพืช (Breadth of metabolic activity) ====
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่
แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ได้แก่


บรรทัดที่ 92: บรรทัดที่ 86:
# สารที่มีกลไกออกฤทธิ์ยับยั้งหลายจุด (Multi-site fungicides) สารในกลุ่มนี้สามารถเข้าขัดขวางหรือยับยั้งการทำงานของเอนไซม์หลายชนิดหรือส่งผลต่อกิจกรรมเมตาบอไลต์ภายในเซลล์ของเชื้อสาเหตุได้หลายกิจกรรมในเวลาเดียวกัน
# สารที่มีกลไกออกฤทธิ์ยับยั้งหลายจุด (Multi-site fungicides) สารในกลุ่มนี้สามารถเข้าขัดขวางหรือยับยั้งการทำงานของเอนไซม์หลายชนิดหรือส่งผลต่อกิจกรรมเมตาบอไลต์ภายในเซลล์ของเชื้อสาเหตุได้หลายกิจกรรมในเวลาเดียวกัน


== การแบ่งกลุ่มสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืชตามการจัดกลุ่มโดยคณะกรรมการติดตามการต้านทานสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืช (Fungicides resistance action committee, FRAC)   ==
==== การแบ่งกลุ่มสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืชตามการจัดกลุ่มโดยคณะกรรมการติดตามการต้านทานสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืช (Fungicides resistance action committee, FRAC)   ====
โดยองค์กร FRAC ได้จัดกลุ่มสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืชตามคุณสมบัติทางเคมีของสารแต่ละชนิด โดยจัดแบ่งกลุ่มเป็น FRAC 1-46 และ FRAC M รวมทั้งจัดกลุ่มตามกลไกการออกฤทธิ์ (Mode of action) เพื่อใช้ประกอบคำแนะนำในการใช้สารป้องกันการเกิดการต้านทานของเชื้อสาเหตุโรคพืช โดยแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ตามกลไกการออกฤทธิ์ 12 กลุ่มดังนี้
โดยองค์กร FRAC ได้จัดกลุ่มสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืชตามคุณสมบัติทางเคมีของสารแต่ละชนิด โดยจัดแบ่งกลุ่มเป็น FRAC 1-46 และ FRAC M รวมทั้งจัดกลุ่มตามกลไกการออกฤทธิ์ (Mode of action) เพื่อใช้ประกอบคำแนะนำในการใช้สารป้องกันการเกิดการต้านทานของเชื้อสาเหตุโรคพืช โดยแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ตามกลไกการออกฤทธิ์ 12 กลุ่มดังนี้


บรรทัดที่ 119: บรรทัดที่ 113:
                             กลุ่ม M สารมีกลไกออกฤทธิ์ยับยั้งในเซลล์เชื้อสาเหตุโรคพืชหลายตำแหน่ง (M: multi-site contact activity)
                             กลุ่ม M สารมีกลไกออกฤทธิ์ยับยั้งในเซลล์เชื้อสาเหตุโรคพืชหลายตำแหน่ง (M: multi-site contact activity)


== การแบ่งกลุ่มสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืชตามประเภทของสารเคมี ==
==== การแบ่งกลุ่มสารเคมีป้องกันกำจัดโรคพืชตามประเภทของสารเคมี ====
เป็นการจัดแบ่งตามชนิดหรือคุณสมบัติทางเคมีของสาร โดยสารแต่ละชนิดจะมีฤทธิ์ในการป้องกันกำจัดเชื้อสาเหตุโรคพืชเหมือนหรือไม่เหมือนกันก็ได้ ปัจจุบันมีการแบ่งสารนี้ออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้
เป็นการจัดแบ่งตามชนิดหรือคุณสมบัติทางเคมีของสาร โดยสารแต่ละชนิดจะมีฤทธิ์ในการป้องกันกำจัดเชื้อสาเหตุโรคพืชเหมือนหรือไม่เหมือนกันก็ได้ ปัจจุบันมีการแบ่งสารนี้ออกเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้


บรรทัดที่ 127: บรรทัดที่ 121:
# สารปฏิชีวนะ (ธิดา, 2559)<ref>ธิดา เดชฮวบ.  2559. สารเคมีที่ใช้ในการป้องกันกำจัดโรคพืช. พิมพ์ที่ บริษัท เอเชีย ดิจิตอล การพิมพ์,    กรุงเทพฯ.</ref>
# สารปฏิชีวนะ (ธิดา, 2559)<ref>ธิดา เดชฮวบ.  2559. สารเคมีที่ใช้ในการป้องกันกำจัดโรคพืช. พิมพ์ที่ บริษัท เอเชีย ดิจิตอล การพิมพ์,    กรุงเทพฯ.</ref>


== อ้างอิง ==
=== สารเคมีกำจัดวัชพืช ===
 
*
 
 
[[สารเคมีกำจัดวัชพืช]]
สารกำจัดวัชพืชสามารถแบ่งประเภทหรือกลุ่มโดยยึดเกณฑ์ต่างกัน ได้เป็น 3 กลุ่ม คือ (Ashton and Craft, 1981)<ref name=":0">Ashton, F.M. and A.S. Crafts.  1981.  Mode of Action of Herbicides 2nd ed. John Wiley & Sons,          New York, NY, USA. </ref>
สารกำจัดวัชพืชสามารถแบ่งประเภทหรือกลุ่มโดยยึดเกณฑ์ต่างกัน ได้เป็น 3 กลุ่ม คือ (Ashton and Craft, 1981)<ref name=":0">Ashton, F.M. and A.S. Crafts.  1981.  Mode of Action of Herbicides 2nd ed. John Wiley & Sons,          New York, NY, USA. </ref>


== แบ่งตามขอบเขตของชนิดพืชที่ควบ ==
==== แบ่งตามขอบเขตของชนิดพืชที่ควบ ====


# ประเภทเลือกทำลาย (Selective herbicides) สารเคมีที่ใช้ควบคุมพืชบางชนิด แต่ไม่มีผลหรือมีผลน้อยกับพืชบางชนิด โดยส่วนใหญ่ในท้องตลาดเป็นสารประเภทเลือกทำลาย คือ ไม่เป็นอันตรายหรือเพียงเล็กน้อยกับพืชที่ปลูก
# ประเภทเลือกทำลาย (Selective herbicides) สารเคมีที่ใช้ควบคุมพืชบางชนิด แต่ไม่มีผลหรือมีผลน้อยกับพืชบางชนิด โดยส่วนใหญ่ในท้องตลาดเป็นสารประเภทเลือกทำลาย คือ ไม่เป็นอันตรายหรือเพียงเล็กน้อยกับพืชที่ปลูก
# ประเภทไม่เลือกทำลาย (Nonselective herbicides) สารเคมีที่ใช้กำจัดหรือเป็นอันตรายกับพืชทุกชนิดที่ได้รับสารประเภทนี้เข้าไป
# ประเภทไม่เลือกทำลาย (Nonselective herbicides) สารเคมีที่ใช้กำจัดหรือเป็นอันตรายกับพืชทุกชนิดที่ได้รับสารประเภทนี้เข้าไป


== แบ่งตามลักษณะการใช้กับพืช ==
==== แบ่งตามลักษณะการใช้กับพืช ====


# ประเภทใช้ทางใบ (Foliar application) คือสารกำจัดวัชพืชที่เข้าสู่พืชทางใบหรือยอดอ่อน  สามารถแบ่งได้ดังนี้
# ประเภทใช้ทางใบ (Foliar application) คือสารกำจัดวัชพืชที่เข้าสู่พืชทางใบหรือยอดอ่อน  สามารถแบ่งได้ดังนี้
บรรทัดที่ 147: บรรทัดที่ 136:
# ประเภทใช้ทางดิน (Soil application) สารกำจัดวัชพืชที่เข้าสู่ทางรากหรือส่วนอื่นๆ ของพืชที่อยู่ใต้ดิน ซึ่งรวมไปถึงใบเลี้ยงหรือยอดอ่อนก่อนจะโผล่พ้นผิวดินด้วย สารกำจัดวัชพืชชนิดนี้มีผลตกค้างในดิน โดยสารบางชนิดตกค้างได้นานเป็นปี ขึ้นอยู่กับชนิดและความเข้มข้นของสาร และสภาพแวดล้อม
# ประเภทใช้ทางดิน (Soil application) สารกำจัดวัชพืชที่เข้าสู่ทางรากหรือส่วนอื่นๆ ของพืชที่อยู่ใต้ดิน ซึ่งรวมไปถึงใบเลี้ยงหรือยอดอ่อนก่อนจะโผล่พ้นผิวดินด้วย สารกำจัดวัชพืชชนิดนี้มีผลตกค้างในดิน โดยสารบางชนิดตกค้างได้นานเป็นปี ขึ้นอยู่กับชนิดและความเข้มข้นของสาร และสภาพแวดล้อม


== แบ่งตามกลุ่มทางเคมี (Chemical classification) ==
==== แบ่งตามกลุ่มทางเคมี (Chemical classification) ====
โดย Ashton และ Craft (1981)<ref name=":0" /> และ Klingman และ Ashton (1982)<ref>Klingman, G.C. and F.M. Ashton.  1986.  Weed Science Principles and Practices 2nd ed. John         Wiley  & Sons, New York, NY, USA.</ref> ได้จำแนกตามประเภทและกลุ่มของสารกำจัดวัชพืชตามลักษณะทางเคมี ดังนี้
โดย Ashton และ Craft (1981)<ref name=":0" /> และ Klingman และ Ashton (1982)<ref>Klingman, G.C. and F.M. Ashton.  1986.  Weed Science Principles and Practices 2nd ed. John         Wiley  & Sons, New York, NY, USA.</ref> ได้จำแนกตามประเภทและกลุ่มของสารกำจัดวัชพืชตามลักษณะทางเคมี ดังนี้


บรรทัดที่ 190: บรรทัดที่ 179:


                 Triclopyr ใช้ควบคุมวัชพืชใบกว้างหลายชนิดรวมทั้งไม้เนื้อแข็ง เช่น ไมยราบยักษ์ เป็นต้น (คณะทรัพยากรธรรมชาติ, ม.ป.พ.)<ref>คณะทรัพยากรธรรมชาติ.  ม.ป.พ. วัชพืชและการจัดการ. เอกสารประกอบการเรียนวิชาวัชพืช. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ที่มา: <nowiki>http://natres.psu.ac.th/Department/PlantScience/weed/pdf/part3.pdf</nowiki>, วันที่ 26 เมษายน 2564.</ref>
                 Triclopyr ใช้ควบคุมวัชพืชใบกว้างหลายชนิดรวมทั้งไม้เนื้อแข็ง เช่น ไมยราบยักษ์ เป็นต้น (คณะทรัพยากรธรรมชาติ, ม.ป.พ.)<ref>คณะทรัพยากรธรรมชาติ.  ม.ป.พ. วัชพืชและการจัดการ. เอกสารประกอบการเรียนวิชาวัชพืช. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ที่มา: <nowiki>http://natres.psu.ac.th/Department/PlantScience/weed/pdf/part3.pdf</nowiki>, วันที่ 26 เมษายน 2564.</ref>
== อ้างอิง ==
*
== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==


*
*
134

การแก้ไข

รายการนำทางไซต์