134
การแก้ไข
บรรทัดที่ 133: | บรรทัดที่ 133: | ||
[[สารเคมีกำจัดวัชพืช]] | [[สารเคมีกำจัดวัชพืช]] | ||
สารกำจัดวัชพืชสามารถแบ่งประเภทหรือกลุ่มโดยยึดเกณฑ์ต่างกัน ได้เป็น 3 กลุ่ม คือ (Ashton and Craft, 1981)<ref name=":0">Ashton, F.M. and A.S. Crafts. 1981. Mode of Action of Herbicides 2nd ed. John Wiley & Sons, New York, NY, USA. </ref> | |||
== แบ่งตามขอบเขตของชนิดพืชที่ควบ == | |||
# ประเภทเลือกทำลาย (Selective herbicides) สารเคมีที่ใช้ควบคุมพืชบางชนิด แต่ไม่มีผลหรือมีผลน้อยกับพืชบางชนิด โดยส่วนใหญ่ในท้องตลาดเป็นสารประเภทเลือกทำลาย คือ ไม่เป็นอันตรายหรือเพียงเล็กน้อยกับพืชที่ปลูก | |||
# ประเภทไม่เลือกทำลาย (Nonselective herbicides) สารเคมีที่ใช้กำจัดหรือเป็นอันตรายกับพืชทุกชนิดที่ได้รับสารประเภทนี้เข้าไป | |||
== แบ่งตามลักษณะการใช้กับพืช == | |||
# ประเภทใช้ทางใบ (Foliar application) คือสารกำจัดวัชพืชที่เข้าสู่พืชทางใบหรือยอดอ่อน สามารถแบ่งได้ดังนี้ | |||
## ประเภทสัมผัสหรือถูกตาย (contact herbicides) สารสามารถทำลายพืชได้เฉพาะส่วนที่สัมผัสสารเท่านั้น ไม่มีการเคลื่อนย้ายไปส่วนอื่นๆในพืช | |||
## ประเภทซึมซาบ (Systermic หรือ translocated herbicides) สารที่เข้าสู่พืชแล้วสามารถเคลื่อนย้ายไปส่วนอื่นๆของพืชได้ โดยจะย้ายไปตามท่ออาหาร (phloem) เป็นส่วนใหญ่ และจะทำลายจุดต่างๆที่เคลื่อนย้ายไปถึง | |||
# ประเภทใช้ทางดิน (Soil application) สารกำจัดวัชพืชที่เข้าสู่ทางรากหรือส่วนอื่นๆ ของพืชที่อยู่ใต้ดิน ซึ่งรวมไปถึงใบเลี้ยงหรือยอดอ่อนก่อนจะโผล่พ้นผิวดินด้วย สารกำจัดวัชพืชชนิดนี้มีผลตกค้างในดิน โดยสารบางชนิดตกค้างได้นานเป็นปี ขึ้นอยู่กับชนิดและความเข้มข้นของสาร และสภาพแวดล้อม | |||
== แบ่งตามกลุ่มทางเคมี (Chemical classification) == | |||
โดย Ashton และ Craft (1981)<ref name=":0" /> และ Klingman และ Ashton (1982)<ref>Klingman, G.C. and F.M. Ashton. 1986. Weed Science Principles and Practices 2nd ed. John Wiley & Sons, New York, NY, USA.</ref> ได้จำแนกตามประเภทและกลุ่มของสารกำจัดวัชพืชตามลักษณะทางเคมี ดังนี้ | |||
# ประเภทสารอนินทรีย์ (Inorganic herbicides) เช่น ammonium sulfamate (AMS), copper sulfate, calcium cyanamide, copper chelate, sodium chlorate, hexaflurate เป็นต้น โดยมีผลต่อพืชในลักษณะทำลายเซลล์พืชเป็นส่วนใหญ่ | |||
# ประเภทสารอินทรีย์ (Organic herbicides) โดยสามารถแบ่งย่อยออกได้เป็นกลุ่มต่างๆ ตามโครงสร้างหลักขององค์ประกอบทางชีวเคมี คือ | |||
1 Aliphatics เป็นสารที่มีโมเลกุลประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนต่อกันเป็นลูกโซ้โดยไม่มีส่วนที่เป็น ring | |||
2 Amides สารในกลุ่มนี้ส่วนใหญ่ใช้ทางดินแบ่งได้เป็นสองกลุ่มย่อย คือ Chloroacetamides เป็นสารยับยั้งการเจริญเติบโต ลดการขยาย และการแบ่งเซลล์ และอีกกลุ่มย่อยเป็นสารที่มีผลต่อพืชแตกต่างกัน | |||
3 Benzoics สารเคมีใช้ในทางใบ และซึมซาบได้ มีผลต่อการเร่งการเจริญเติบโตของเซลล์ ทำให้เซลล์และเนื้อเยื่อพืชเจริญเติบโตอย่างไม่สมดุลย์ ในที่สุดทำให้พืชตายได้ | |||
4 Bipyridiliums สารในกลุ่มนี้เป็นสารประเภทสัมผัสตาย อาจมีการเคลื่อนย้ายในพืชได้บ้างหากฉีดพ่นให้กับพืชในระยะที่ไม่มีแสงแดด โดยเข้าทำลายคลอโรฟิลทำให้พืชไม่สามารถสังเคราะห์แสงได้ และใบหรือส่วนอื่นของพืชที่มีสีเขียวเหี่ยวและร่วงในที่สุด | |||
5 Carbamates มีความสามารถในการเลือกทำลายสูงบางชนิดใช้ทางดิน บางชนิดใช้ทางใบ สามารถเคลื่อนย้ายในพืชได้ ส่งผลต่อพืชโดยยับยั้งการแบ่งเซลลืบริเวณราก และที่ใช้ทางใบสามารถยับยั้งการแบ่งเซลล์บริเวณใบและราก | |||
6 Dinitroanilines สารในกลุ่มนี้ใช้ในการเลือกทำลายโดยส่วนใหญ่ใช้ทางดิน ส่งผลต่อการยับยั้งการแบ่งเซลล์โดยเฉพาะราก ทำให้รากมีลักษณะโค้งงอนหรือสั้นกุด | |||
7 Diphenyl ethers มีการเลือกเข้าทำลายได้สูงใช้ในระยะก่อนพืชงอกหรืองอกใหม่ทางดิน สามารถเข้าสู่พืชได้ทางรากและใบ เคลื่อนย้ายในพืชได้น้อย ยับยั้งหรือขัดขวางการสร้างและถ่ายทอดพลังงานของ Chloroplast และ Mitochondria | |||
8 Nitriles เป็นกลุ่มสารที่มีการเลือกทำลายได้ต่ำ บางชนิดมีการใช้ทางดินบางชนิดใช้ทางใบ สาระสำคัญในกลุ่มนี้ คือ dichlobenil bromoxynil และ ioxynil เช่น dichlobenil ยับยั้งการเจริญเติบโตของยอดอ่อนหรือปลายราก | |||
9 Phenoxys เป็นกลุ่มสารที่มีการเลือกทำลายได้สูงโดยเฉพาะพืชใบกว้าง เป็นสารที่จัดอยู่ในกลุ่มฮอร์โมนพืช ลักษณะการทำลายเริ่มด้วยการเกิดอาการโค้งงอกของพืชแบบโค้งเล็ก จากดารเจริญของเนื้อเยื่อไม่เท่ากันส่งผลให้การลำเลียงน้ำและอาหารเป็นไปด้วยความลำบาก และตายในที่สุด | |||
10 Thiocarbamate เป็นกลุ่มสารที่มีการเลือกทำลายได้ค่อนข้างสูงโดยจะทำลายกับพืชใบแคบได้ดี ใช้ในการฉีดพ่นทางดิน และจะทำลายยอดอ่อนของพืชที่กำลังงอกจากผิวดิน โดยเข้าไปยับยั้งขบวนการ Lipid metabolism | |||
11 Triazines เป็นกลุ่มสารที่มีการเลือกทำลายได้มากน้อยแตกต่างกันตามชนิดของสาร โดยส่วนใหญ่ใช้ในทางดินส่งผลการยับยั้งการสังเคราะห์แสง โดยเฉพาะยับยั้งขบวนการที่เรียกว่า Hill reaction ทำให้ใบมีสีเหลืองซีดและตายในที่สุด | |||
12 Ureas เป็นกลุ่มสารมีการเลือกทำลายได้ในระดับปานกลางถึงค่อนข้างต่ำ ส่วนใหญ่ใช้ทางดิน ส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืช โดยทำการยับยั้งการสังเคราะห์แสงโดยๆไปยับยั้ง Hill reaction สามารถเข้าทำลายได้ดีในพืชที่มีรากลึก เช่นไม้ยืนต้น | |||
13 Uracils เป็นกลุ่มสารที่มีการใช้งานและการทำลายเช่นเดียวกันกับกลุ่ม Ureas แตกต่างกันที่โครงสร้างทางเคมี | |||
14 สารชนิดอื่นๆ เป็นกลุ่มที่ยังไม่ชัดเจนเพราโครงสร้างเคมีไม่สามารถจัดลงในกลุ่มใดได้ เช่น Amitrole ใช้ในบริเวณที่ไม่ได้ปลูกพืช ควบคุมกำจัดวัชพืชฤดูเดียวหรือวัชพืชค้างปี | |||
Bensulide ใช้ควบคุมวัชพืชในไม้ดอกไม้ประดับ และพืชผัก เป็นสารที่ตกค้างในดินนาน จึงเกิดปัญหาในการใช้ | |||
DCPA ใช้กำจัดวัชพืชในพืชตระกูลถั่ว และพืชผักได้ดีมาก | |||
Endothall ใช้ควบคุมวัชพืชในแหล่งน้ำและในสนามหญ้า ควบคุมพืชใบกว้าง | |||
Picloram ใช้ควบคุมพืชใบกว้างได้ดีทั้งพืชล้มลุกและยืนต้น | |||
Triclopyr ใช้ควบคุมวัชพืชใบกว้างหลายชนิดรวมทั้งไม้เนื้อแข็ง เช่น ไมยราบยักษ์ เป็นต้น (คณะทรัพยากรธรรมชาติ, ม.ป.พ.)<ref>คณะทรัพยากรธรรมชาติ. ม.ป.พ. วัชพืชและการจัดการ. เอกสารประกอบการเรียนวิชาวัชพืช. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ที่มา: <nowiki>http://natres.psu.ac.th/Department/PlantScience/weed/pdf/part3.pdf</nowiki>, วันที่ 26 เมษายน 2564.</ref> | |||
== อ้างอิง == | |||
* | |||
== อ้างอิง == | == อ้างอิง == | ||
* | * |
การแก้ไข