134
การแก้ไข
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
ในอดีตปัญหาเกี่ยวกับแมลงศัตรูที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังมีค่อนข้างน้อย เนื่องจากมันสำปะหลังเป็นพืชที่ปลูกง่าย ทนทานและปรับตัวได้ดี แต่ปัจจุบันมีการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพู (เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง) ในมันสำปะหลังและกลายเป็นปัญหาที่สำคัญ โดยมีรายงานการระบาดเมื่อต้นปี 2551 และแพร่กระจายไปยังแหล่งปลูกมันสำปะหลังที่สำคัญ เช่น จังหวัดกำแพงเพชร ระยอง ชลบุรี สระแก้ว ปราจีนบุรี และนครราชสีมา สาเหตุสำคัญของการระบาดอย่างกว้างขว้างคือ การใช้ท่อนพันธุ์ที่มีเพลี้ยแป้งไปปลูกโดยไม่มีการจัดการท่อนพันธุ์ให้ปราศจากแมลงก่อน ทำให้ผลผลิตมันสำปะหลังในปี 2552 ที่คาดว่าจะมีถึง 27 ล้านตัน ลดลงเหลือประมาณ 19 ล้านตันเท่านั้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อธุรกิจมันสำปะหลังเป็นอย่างมาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ในอดีตปัญหาเกี่ยวกับแมลงศัตรูที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังมีค่อนข้างน้อย เนื่องจากมันสำปะหลังเป็นพืชที่ปลูกง่าย ทนทานและปรับตัวได้ดี แต่ปัจจุบันมีการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพู (เพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง) ในมันสำปะหลังและกลายเป็นปัญหาที่สำคัญ โดยมีรายงานการระบาดเมื่อต้นปี 2551 และแพร่กระจายไปยังแหล่งปลูกมันสำปะหลังที่สำคัญ เช่น จังหวัดกำแพงเพชร ระยอง ชลบุรี สระแก้ว ปราจีนบุรี และนครราชสีมา สาเหตุสำคัญของการระบาดอย่างกว้างขว้างคือ การใช้ท่อนพันธุ์ที่มีเพลี้ยแป้งไปปลูกโดยไม่มีการจัดการท่อนพันธุ์ให้ปราศจากแมลงก่อน ทำให้ผลผลิตมันสำปะหลังในปี 2552 ที่คาดว่าจะมีถึง 27 ล้านตัน ลดลงเหลือประมาณ 19 ล้านตันเท่านั้น ซึ่งส่งผลกระทบต่อธุรกิจมันสำปะหลังเป็นอย่างมาก (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
== '''เพลี้ยแป้ง''' == | == '''เพลี้ยแป้ง''' == | ||
การเข้าทำลายต้นมันสำปะหลังของตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของเพลี้ยแป้ง (Mealybugs) โดยการใช้ส่วนของปาก (stylet) ที่มีลักษณะเป็นท่อยาวดูดกินน้ำเลี้ยงตามส่วนต่าง ๆ เช่น ใบ ยอด ขณะเดียวกันเพลี้ยแป้งจะถ่ายมูลทำให้เกิดราดำบนต้นพืช ทำให้พืชสังเคราะห์แสงได้น้อยลง เจริญเติบโตได้ไม่เติมที่ ลำต้นมีช่วงข้อถี่และบิดงอ ยอดแห้งตาย หรือยอดแตกพุ่ม มีผลกระทบต่อการสร้างหัว และหากระบาดในขณะพืชมีอายุน้อยหรือต้นขนาดเล็ก อาจทำให้ต้นตายได้ พบเพลี้ยแป้งระบาดมากในช่วงฤดูแล้ง นอกจากเพลี้ยแป้งจะส่งผลกระทบต่อผลผลิตทั้งด้านปริมาณและคุณภาพแล้วยังทำให้ขาดแคลนท่อนพันธุ์อีกด้วย เพลี้ยแป้งที่เข้าทำลายมันสำปะหลังมี 4 ชนิด คือ เพลี้ยแป้งลาย เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ เพลี้ยแป้งสีเขียว และเพลี้ยแป้งสีชมพู (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | การเข้าทำลายต้นมันสำปะหลังของตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของเพลี้ยแป้ง (Mealybugs) โดยการใช้ส่วนของปาก (stylet) ที่มีลักษณะเป็นท่อยาวดูดกินน้ำเลี้ยงตามส่วนต่าง ๆ เช่น ใบ ยอด ขณะเดียวกันเพลี้ยแป้งจะถ่ายมูลทำให้เกิดราดำบนต้นพืช ทำให้พืชสังเคราะห์แสงได้น้อยลง เจริญเติบโตได้ไม่เติมที่ ลำต้นมีช่วงข้อถี่และบิดงอ ยอดแห้งตาย หรือยอดแตกพุ่ม มีผลกระทบต่อการสร้างหัว และหากระบาดในขณะพืชมีอายุน้อยหรือต้นขนาดเล็ก อาจทำให้ต้นตายได้ พบเพลี้ยแป้งระบาดมากในช่วงฤดูแล้ง นอกจากเพลี้ยแป้งจะส่งผลกระทบต่อผลผลิตทั้งด้านปริมาณและคุณภาพแล้วยังทำให้ขาดแคลนท่อนพันธุ์อีกด้วย เพลี้ยแป้งที่เข้าทำลายมันสำปะหลังมี 4 ชนิด คือ เพลี้ยแป้งลาย เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ เพลี้ยแป้งสีเขียว และเพลี้ยแป้งสีชมพู (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
=== เพลี้ยแป้งลาย === | === เพลี้ยแป้งลาย === | ||
เพลี้ยแป้งลาย (Striped mealybug; ''Ferrisia virgata'' Cockerell) มีลักษณะรูปร่างลำตัวคล้ายลิ่ม ผนังลำตัวสีเทา มีผงแป้งปกคลุมลำตัวยาวเป็นเงาคล้ายเส้นใยแก้ว มีแถบดำบนลำตัว 2 แถบชัดเจน ปลายท้องมีหางคล้ายเส้นแป้ง 2 เส้น ยาวครึ่งหนึ่งของลำตัว พบการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง นอกจากนี้ยังพบการเข้าทำลายในพืชหลายชนิด เช่น มะละกอ น้อยหน่า และไม้ดอกบางชนิด เช่น ชบา เป็นต้น ที่ผ่านมาการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ยังไม่ถึงระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการควบคุมด้วยศัตรูธรรมชาติคือตัวห้ำและตัวเบียนอย่างสมดุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | เพลี้ยแป้งลาย (Striped mealybug; ''Ferrisia virgata'' Cockerell) มีลักษณะรูปร่างลำตัวคล้ายลิ่ม ผนังลำตัวสีเทา มีผงแป้งปกคลุมลำตัวยาวเป็นเงาคล้ายเส้นใยแก้ว มีแถบดำบนลำตัว 2 แถบชัดเจน ปลายท้องมีหางคล้ายเส้นแป้ง 2 เส้น ยาวครึ่งหนึ่งของลำตัว พบการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง นอกจากนี้ยังพบการเข้าทำลายในพืชหลายชนิด เช่น มะละกอ น้อยหน่า และไม้ดอกบางชนิด เช่น ชบา เป็นต้น ที่ผ่านมาการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ยังไม่ถึงระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการควบคุมด้วยศัตรูธรรมชาติคือตัวห้ำและตัวเบียนอย่างสมดุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
[[ไฟล์:Image 01.png|thumb|เพลี้ยแป้งลาย (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | [[ไฟล์:Image 01.png|thumb|เพลี้ยแป้งลาย (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | ||
=== เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (เพลี้ยแป้งสีเทา) === | === เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (เพลี้ยแป้งสีเทา) === | ||
เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (Jack-beardsley mealybug; ''Pseudococcus'' ''jackbeardsleyi'' Gimpel & Miller) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเทาอมชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งเรียงกันจำนวนมาก เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว พบระบาดทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ชอบอยู่บริเวณโคนต้นหรือในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (Jack-beardsley mealybug; ''Pseudococcus'' ''jackbeardsleyi'' Gimpel & Miller) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเทาอมชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งเรียงกันจำนวนมาก เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว พบระบาดทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ชอบอยู่บริเวณโคนต้นหรือในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
[[ไฟล์:Image02.png|thumb|เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | [[ไฟล์:Image02.png|thumb|เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | ||
=== เพลี้ยแป้งเขียว === | === เพลี้ยแป้งเขียว === | ||
เพลี้ยแป้งสีเขียว (Madeira mealybug; ''Phenococcus madeiresis'' Green) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเขียวอมเหลือง มีผงแป้งสีขาวปกคลุมบาง ๆ บนลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว และที่ลำตัวมีสันนูน 3 แนว ตามความยาวของลำตัว เส้นที่นูนที่สุดอยู่ตรงกลางลำตัว ถุงไข่ของเพลี้ยแป้งสีเขียวอยู่ส่วนหลังบนลำตัว อายุของตัวเต็มวัยขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ หากที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 30 วัน ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 46 วัน เพลี้ยแป้งสีเขียวชอบดูดกินอยู่บริเวณใบแก่ พบระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังบางพื้นที่ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | เพลี้ยแป้งสีเขียว (Madeira mealybug; ''Phenococcus madeiresis'' Green) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเขียวอมเหลือง มีผงแป้งสีขาวปกคลุมบาง ๆ บนลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว และที่ลำตัวมีสันนูน 3 แนว ตามความยาวของลำตัว เส้นที่นูนที่สุดอยู่ตรงกลางลำตัว ถุงไข่ของเพลี้ยแป้งสีเขียวอยู่ส่วนหลังบนลำตัว อายุของตัวเต็มวัยขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ หากที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 30 วัน ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 46 วัน เพลี้ยแป้งสีเขียวชอบดูดกินอยู่บริเวณใบแก่ พบระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังบางพื้นที่ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
[[ไฟล์:Image03.png|thumb|เพลี้ยแป้งสีเขียว (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | [[ไฟล์:Image03.png|thumb|เพลี้ยแป้งสีเขียว (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | ||
[[ไฟล์:Image07.png|thumb|สภาพแปลงที่เพลี้ยแป้งสีชมพูเข้าทำลายอย่างรุนแรง (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | [[ไฟล์:Image07.png|thumb|สภาพแปลงที่เพลี้ยแป้งสีชมพูเข้าทำลายอย่างรุนแรง (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | ||
=== เพลี้ยแป้งสีชมพู === | === เพลี้ยแป้งสีชมพู === | ||
เพลี้ยแป้งสีชมพู (Pink mealybug; ''Phenococcus manihoti'' Matile&Ferrero) มีลักษณะลำตัวรูปไข่ ผนังลำตัวสีชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้นหรือไม่ปรากฏให้เห็น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องค่อนข้างสั้น ขยายพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ วางไข่อยู่ในถุงไข่ อยู่เป็นกลุ่ม เพลี้ยแป้งชนิดนี้เป็นชนิดที่สร้างความเสียหายแก่มันสำปะหลังมากที่สุด พบระบาดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2516 ที่ประเทศคองโก มีการใช้แตนเบียนควบคุมโดยใช้เวลานานกว่า 10 ปี จึงสามารถควบคุมการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพูได้ สำหรับประเทศไทยเพลี้ยแป้งชนิดนี้เริ่มระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังเมื่อปี พ.ศ. 2551 และต่อมาได้สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังอย่างรุนแรง ทำให้เกิดความเสียหายในระดับเศรษฐกิจในทุกพื้นที่ที่มีการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | เพลี้ยแป้งสีชมพู (Pink mealybug; ''Phenococcus manihoti'' Matile&Ferrero) มีลักษณะลำตัวรูปไข่ ผนังลำตัวสีชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้นหรือไม่ปรากฏให้เห็น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องค่อนข้างสั้น ขยายพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ วางไข่อยู่ในถุงไข่ อยู่เป็นกลุ่ม เพลี้ยแป้งชนิดนี้เป็นชนิดที่สร้างความเสียหายแก่มันสำปะหลังมากที่สุด พบระบาดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2516 ที่ประเทศคองโก มีการใช้แตนเบียนควบคุมโดยใช้เวลานานกว่า 10 ปี จึงสามารถควบคุมการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพูได้ สำหรับประเทศไทยเพลี้ยแป้งชนิดนี้เริ่มระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังเมื่อปี พ.ศ. 2551 และต่อมาได้สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังอย่างรุนแรง ทำให้เกิดความเสียหายในระดับเศรษฐกิจในทุกพื้นที่ที่มีการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
[[ไฟล์:Image04.png|thumb|เพลี้ยแป้งชมพูหรือเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | [[ไฟล์:Image04.png|thumb|เพลี้ยแป้งชมพูหรือเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | ||
[[ไฟล์:Image 05.png|thumb|สภาพแปลงที่พบการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพู (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | [[ไฟล์:Image 05.png|thumb|สภาพแปลงที่พบการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพู (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | ||
บรรทัดที่ 48: | บรรทัดที่ 48: | ||
|มากกว่า 100 | |มากกว่า 100 | ||
|} | |} | ||
การประเมินการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้งในแปลงมันสำปะหลังดังกล่าว จะทำให้สามารถป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" /> | การประเมินการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้งในแปลงมันสำปะหลังดังกล่าว จะทำให้สามารถป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0">มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2556) เทคโนโลยี 52 สัปดาห์ มันสำปะหลัง. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์:กรุงเทพฯ.</ref> | ||
=== การป้องกันกำจัด === | === การป้องกันกำจัด === | ||
การป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้งในแปลงมันสำปะหลังต้องเริ่มตั้งแต่การไถพรวนเตรียมพื้นที่ให้ดีก่อนปลูก เพื่อให้มันสำปะหลังงอกได้ดี เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และเพลี้ยแป้งเข้าทำลายได้น้อยลง แช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารในกลุ่ม neonicotinoid ก่อนปลูก เช่น สารอิมิดาคลอพริด (imidacloprid) ไดโนทีฟูแรน (dinotefuran) หรือไทอะมีโทแซม (thiamethoxam) เป็นต้น หลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ที่จะทำให้มันสำปะหลังกระทบแล้งยาวนาน หากเพลี้ยแป้งเข้าทำลายต้นมันสำปะหลังในขณะยังเล็กอยู่ ให้เก็บส่วนของพืชที่มีเพลี้ยแป้งอยู่ไปเผาทำลายทิ้ง และ/หรือใช้สารฆ่าแมลงในกลุ่ม neonicotinoid ฉีดพ่น | การป้องกันและกำจัดเพลี้ยแป้งในแปลงมันสำปะหลังต้องเริ่มตั้งแต่การไถพรวนเตรียมพื้นที่ให้ดีก่อนปลูก เพื่อให้มันสำปะหลังงอกได้ดี เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว และเพลี้ยแป้งเข้าทำลายได้น้อยลง แช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารในกลุ่ม neonicotinoid ก่อนปลูก เช่น สารอิมิดาคลอพริด (imidacloprid) ไดโนทีฟูแรน (dinotefuran) หรือไทอะมีโทแซม (thiamethoxam) เป็นต้น หลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ที่จะทำให้มันสำปะหลังกระทบแล้งยาวนาน หากเพลี้ยแป้งเข้าทำลายต้นมันสำปะหลังในขณะยังเล็กอยู่ ให้เก็บส่วนของพืชที่มีเพลี้ยแป้งอยู่ไปเผาทำลายทิ้ง และ/หรือใช้สารฆ่าแมลงในกลุ่ม neonicotinoid ฉีดพ่น | ||
==== | ==== การแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีป้องกันโรคและแมลง ==== | ||
ท่อนพันธุ์ปลูกควรสะอาดปราศจากโรคและแมลงเข้าทำลาย หากท่อนพันธุ์ที่ใช้มาจากแหล่งที่มีการระบาดของเพลี้ยแป้งไม่แน่ใจว่าท่อนพันธุ์ปลอดจากเพลี้ยแป้งหรือไม่ หรือในพื้นที่ปลูกโดยรอบมีการระบาดของเพลี้ยแป้งอยู่ ควรแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีที่แนะนำนาน 5-10 นาที ก่อนปลูกเสมอ โดยไม่ควรแช่นานเกิน 10 นาที เนื่องจากอาจทำให้มันสำปะหลังแสดงอาการเป็นพิษจากฤทธิ์ของสารเคมี และทำให้สิ้นเปลืองเวลาโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกในพื้นที่ขนาดใหญ่ | ท่อนพันธุ์ปลูกควรสะอาดปราศจากโรคและแมลงเข้าทำลาย หากท่อนพันธุ์ที่ใช้มาจากแหล่งที่มีการระบาดของเพลี้ยแป้งไม่แน่ใจว่าท่อนพันธุ์ปลอดจากเพลี้ยแป้งหรือไม่ หรือในพื้นที่ปลูกโดยรอบมีการระบาดของเพลี้ยแป้งอยู่ ควรแช่ท่อนพันธุ์ด้วยสารเคมีที่แนะนำนาน 5-10 นาที ก่อนปลูกเสมอ โดยไม่ควรแช่นานเกิน 10 นาที เนื่องจากอาจทำให้มันสำปะหลังแสดงอาการเป็นพิษจากฤทธิ์ของสารเคมี และทำให้สิ้นเปลืองเวลาโดยเฉพาะอย่างยิ่งการปลูกในพื้นที่ขนาดใหญ่ | ||
==== | ==== ตารางสารเคมีสำหรับแช่ท่อนพันธุ์ก่อนปลูก ==== | ||
{| class="wikitable" | {| class="wikitable" | ||
|สารเคมี | |สารเคมี | ||
บรรทัดที่ 82: | บรรทัดที่ 82: | ||
ต้นทุนการแช่สารเคมีป้องกันเพลี้ยแป้งประมาณ 20 บาท/ไร่ ใช้เวลาในการปฏิบัติงานในขั้นตอนนี้เพิ่มขึ้นจากการไม่แช่ท่อนพันธุ์ประมาณ 30- 60 นาทีต่อพื้นที่ปลูก 1 ไร่ (ขึ้นอยู่กับความพร้อมของแรงงานและอุปกรณ์แช่ท่อนพันธุ์) | ต้นทุนการแช่สารเคมีป้องกันเพลี้ยแป้งประมาณ 20 บาท/ไร่ ใช้เวลาในการปฏิบัติงานในขั้นตอนนี้เพิ่มขึ้นจากการไม่แช่ท่อนพันธุ์ประมาณ 30- 60 นาทีต่อพื้นที่ปลูก 1 ไร่ (ขึ้นอยู่กับความพร้อมของแรงงานและอุปกรณ์แช่ท่อนพันธุ์) | ||
==== | ==== การจัดการเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังโดยชีววิธี ==== | ||
ในสภาพนิเวศน์การเกษตรโดยทั่วไปมีศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยแป้งอยู่หลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิดจะมีศักยภาพในการเป็นศัตรูธรรมชาติที่แตกต่างกัน จึงต้องมีการสำรวจและประเมินประสิทธิภาพของศัตรูธรรมชาติเหล่านี้ เมื่อพบว่าชนิดใดมีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมศัตรูพืช ก็จะนำมาศึกษาเพิ่มเติม เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์โดยการเลี้ยงเพิ่มปริมาณสำหรับนำไปปล่อยในพื้นที่ปลูกต่อไป ซึ่งอาจดำเนินการกับศัตรูธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่น แต่ถ้าพบว่ามีศัตรูธรรมชาติจากต่างถิ่นที่มีประสิทธิภาพสูงก็สามารถนำศัตรูธรรมชาติชนิดนั้น ๆ เข้ามาโดยผ่านขั้นตอนอย่างถูกต้องและมีการศึกษาผลกระทบก่อนที่จะนำมาใช้ประโยชน์ในการควบคุมศัตรูพืช ซึ่งจะเรียกการควบคุมวิธีนี้ว่า การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี แมลงศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังที่มีศักยภาพ และสามารถนำมาเลี้ยงขยายเพิ่มปริมาณ เพื่อใช้ในการควบคุมเพลี้ยแป้งโดยชีววิธี ได้แก่ | ในสภาพนิเวศน์การเกษตรโดยทั่วไปมีศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยแป้งอยู่หลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิดจะมีศักยภาพในการเป็นศัตรูธรรมชาติที่แตกต่างกัน จึงต้องมีการสำรวจและประเมินประสิทธิภาพของศัตรูธรรมชาติเหล่านี้ เมื่อพบว่าชนิดใดมีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมศัตรูพืช ก็จะนำมาศึกษาเพิ่มเติม เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์โดยการเลี้ยงเพิ่มปริมาณสำหรับนำไปปล่อยในพื้นที่ปลูกต่อไป ซึ่งอาจดำเนินการกับศัตรูธรรมชาติที่มีอยู่ในท้องถิ่น แต่ถ้าพบว่ามีศัตรูธรรมชาติจากต่างถิ่นที่มีประสิทธิภาพสูงก็สามารถนำศัตรูธรรมชาติชนิดนั้น ๆ เข้ามาโดยผ่านขั้นตอนอย่างถูกต้องและมีการศึกษาผลกระทบก่อนที่จะนำมาใช้ประโยชน์ในการควบคุมศัตรูพืช ซึ่งจะเรียกการควบคุมวิธีนี้ว่า การควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี แมลงศัตรูธรรมชาติของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังที่มีศักยภาพ และสามารถนำมาเลี้ยงขยายเพิ่มปริมาณ เพื่อใช้ในการควบคุมเพลี้ยแป้งโดยชีววิธี ได้แก่ | ||
บรรทัดที่ 99: | บรรทัดที่ 99: | ||
'''แตนเบียนแตนเบียนอะนาไกรัส โลเปไซ''' (Anagyrus lopezi) เป็นแตนเบียนที่มีประโยชน์ช่วยควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู พฤติกรรมการเข้าทำลายของแตนเบียน มี 2 วิธี ได้แก่ 1) การห้ำ แตนเบียนเพศเมียใช้อวัยวะวางไข่แทงเข้าไปในลำตัวเพลี้ยแป้งเพื่อสร้างบาดแผลจากนั้นใช้ปากเลียกินของเหลวจากรอยแผลเพื่อนำโปรตีนจากของเหลวในลำตัวเพลี้ยแป้งไปใช้สร้างไข่ วิธีนี้จะทำให้เพลี้ยแป้งตายทันที 2) การเบียน แตนเบียนเพศเมียใช้อวัยวะวางไข่แทงเข้าไปในลำตัวเพลี้ยแป้งและวางไข่ภายใน หนอนแตนเบียนดูดกินของเหลวในลำตัวเพลี้ยแป้งเจริญเติบโตเข้าดักแด้อยู่ภายใน แตนเบียน 1 ตัว ฆ่าและทำลายเพลี้ยแป้งวันละ 20 - 30 ตัว และลงเบียนเพลี้ยแป้งได้วันละ 15 - 20 ตัว ลักษณะสำคัญที่ใช้จำแนกเพศของแตนเบียนชนิดนี้ คือส่วนหนวดแตนเบียนเพศผู้มีลักษณะยาวเรียวสีดำและมีขนเล็กที่ส่วนของปล้องหนวด เพศเมียมีหนวดปล้องแรกของเพศเมียมีลักษณะแบนและใหญ่กว่าหนวดปล้องอื่นและปล้องหนวดมีสีขาวสลับดำ (สุภราดา และคณะ, 2563) | '''แตนเบียนแตนเบียนอะนาไกรัส โลเปไซ''' (Anagyrus lopezi) เป็นแตนเบียนที่มีประโยชน์ช่วยควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู พฤติกรรมการเข้าทำลายของแตนเบียน มี 2 วิธี ได้แก่ 1) การห้ำ แตนเบียนเพศเมียใช้อวัยวะวางไข่แทงเข้าไปในลำตัวเพลี้ยแป้งเพื่อสร้างบาดแผลจากนั้นใช้ปากเลียกินของเหลวจากรอยแผลเพื่อนำโปรตีนจากของเหลวในลำตัวเพลี้ยแป้งไปใช้สร้างไข่ วิธีนี้จะทำให้เพลี้ยแป้งตายทันที 2) การเบียน แตนเบียนเพศเมียใช้อวัยวะวางไข่แทงเข้าไปในลำตัวเพลี้ยแป้งและวางไข่ภายใน หนอนแตนเบียนดูดกินของเหลวในลำตัวเพลี้ยแป้งเจริญเติบโตเข้าดักแด้อยู่ภายใน แตนเบียน 1 ตัว ฆ่าและทำลายเพลี้ยแป้งวันละ 20 - 30 ตัว และลงเบียนเพลี้ยแป้งได้วันละ 15 - 20 ตัว ลักษณะสำคัญที่ใช้จำแนกเพศของแตนเบียนชนิดนี้ คือส่วนหนวดแตนเบียนเพศผู้มีลักษณะยาวเรียวสีดำและมีขนเล็กที่ส่วนของปล้องหนวด เพศเมียมีหนวดปล้องแรกของเพศเมียมีลักษณะแบนและใหญ่กว่าหนวดปล้องอื่นและปล้องหนวดมีสีขาวสลับดำ (สุภราดา และคณะ, 2563) | ||
'''การใช้แตนเบียนในการควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง''' เมื่อเริ่มพบการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง หรือการเข้าทำลายยังไม่มากให้ปล่อยแตนเบียนเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง อัตรา 50 คู่ต่อไร่ แต่หากพบการระบาดของเพลี้ยแป้งอย่างรุนแรง ให้เพิ่มอัตราการปล่อยแตนเบียนเป็น 200 คู่ต่อไร่ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | '''การใช้แตนเบียนในการควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง''' เมื่อเริ่มพบการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง หรือการเข้าทำลายยังไม่มากให้ปล่อยแตนเบียนเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง อัตรา 50 คู่ต่อไร่ แต่หากพบการระบาดของเพลี้ยแป้งอย่างรุนแรง ให้เพิ่มอัตราการปล่อยแตนเบียนเป็น 200 คู่ต่อไร่ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
== '''ไรแดง''' == | == '''ไรแดง''' == | ||
บรรทัดที่ 115: | บรรทัดที่ 115: | ||
=== ลักษณะอาการ === | === ลักษณะอาการ === | ||
ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากส่วนใต้ใบของพืช และถ่ายมูลทำให้เกิดราดำส่งผลให้พืชสังเคราะห์แสงได้น้อยลง นอกจากนี้ในแมลงหวีขาวยาสูบสามารถเป็นแมลงพาหะถ่ายทอดโรคใบด่าง (Cassava mosaic disease) ได้ด้วย (อุดมศักดิ์, 2555) | ตัวอ่อนและตัวเต็มวัยจะดูดกินน้ำเลี้ยงจากส่วนใต้ใบของพืช และถ่ายมูลทำให้เกิดราดำส่งผลให้พืชสังเคราะห์แสงได้น้อยลง นอกจากนี้ในแมลงหวีขาวยาสูบสามารถเป็นแมลงพาหะถ่ายทอดโรคใบด่าง (Cassava mosaic disease) ได้ด้วย (อุดมศักดิ์, 2555) | ||
=== การป้องกันกำจัด === | === การป้องกันกำจัด === | ||
หลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในช่วงที่สภาพอากาศแห้แล้งในช่วงที่มันสำปะหลังยังเล็ก เก็บส่วนของพืชที่พบแมลงหวี่ขาวอยู่ไปเผาทำลายทิ้ง หรือทำการควบคุมด้วยชีววิธีด้วยแมลงศัตรูธรรมชาติ คือแมลงช้าง ปล่อยลงในแปลง หากมีการระบาดรุนแรงให้ทำการฉีดพ่นด้วยสารเคมีกำจัดแมลง เช่น อีโทเฟนพรอกซ์ (Etofenprox) อิมิดาคลอพริด (Imidacloprid) ไธอะมีโทแซม (Thiamethoxam) ฉีดพ่นอัตราตามฉลากแนะนำ (อุดมศักดิ์, 2555) | หลีกเลี่ยงการปลูกมันสำปะหลังในช่วงที่สภาพอากาศแห้แล้งในช่วงที่มันสำปะหลังยังเล็ก เก็บส่วนของพืชที่พบแมลงหวี่ขาวอยู่ไปเผาทำลายทิ้ง หรือทำการควบคุมด้วยชีววิธีด้วยแมลงศัตรูธรรมชาติ คือแมลงช้าง ปล่อยลงในแปลง หากมีการระบาดรุนแรงให้ทำการฉีดพ่นด้วยสารเคมีกำจัดแมลง เช่น อีโทเฟนพรอกซ์ (Etofenprox) อิมิดาคลอพริด (Imidacloprid) ไธอะมีโทแซม (Thiamethoxam) ฉีดพ่นอัตราตามฉลากแนะนำ (อุดมศักดิ์, 2555) | ||
== '''เพลี้ยหอย''' == | == '''เพลี้ยหอย''' == | ||
พบมีการแพร่ระบาดในแหลงปลูกมันสำปะหลังรุนแรงทางภาคตะวันออก เช่น ระยอง ปราจีนบุรี สระแก้ว ในช่วงฤดูปลูกปี 2557-2558 โดยมีการแพร่กระจายไปกับท่อนพันธุ์ | พบมีการแพร่ระบาดในแหลงปลูกมันสำปะหลังรุนแรงทางภาคตะวันออก เช่น ระยอง ปราจีนบุรี สระแก้ว ในช่วงฤดูปลูกปี 2557-2558 โดยมีการแพร่กระจายไปกับท่อนพันธุ์ | ||
=== | === เพลี้ยหอยเกล็ด === | ||
มีชื่อวิทยาศาสตร์ ''Parasaissetia nigra'' (Nietner) ลักษณะเด่นตัวเต็มวัยเพศเมีย มีลำตัวรูปวงรี ยาว 5.0-5.5 มิลลิเมตร กว้าง 3.8-4.0 มิลลิเมตร ระยะตัวอ่อน ผนังลำตัวมีสีเหลืองหรือน้ำตาลอ่อน ผนังลำตัวมีสีดำถึงน้ำตาลเข้ม และในช่วงวางไข่ลำตัวมีลักษณะนูนขึ้นสามารถมองเห็นได้ชัดเจน ทำความเสียหายกับมันสำปะหลังด้วยการดูดกินน้ำเลี้ยงบริเวณลำต้น หรือใบของมันสำปะหลัง มีพืชอาหารหลากหลายกว่า 400 ชนิดวงจรชีวิตเวลาประมาณ 45-60 วัน (อุดมศักดิ์, 2555) | มีชื่อวิทยาศาสตร์ ''Parasaissetia nigra'' (Nietner) ลักษณะเด่นตัวเต็มวัยเพศเมีย มีลำตัวรูปวงรี ยาว 5.0-5.5 มิลลิเมตร กว้าง 3.8-4.0 มิลลิเมตร ระยะตัวอ่อน ผนังลำตัวมีสีเหลืองหรือน้ำตาลอ่อน ผนังลำตัวมีสีดำถึงน้ำตาลเข้ม และในช่วงวางไข่ลำตัวมีลักษณะนูนขึ้นสามารถมองเห็นได้ชัดเจน ทำความเสียหายกับมันสำปะหลังด้วยการดูดกินน้ำเลี้ยงบริเวณลำต้น หรือใบของมันสำปะหลัง มีพืชอาหารหลากหลายกว่า 400 ชนิดวงจรชีวิตเวลาประมาณ 45-60 วัน (อุดมศักดิ์, 2555) | ||
=== | === เพลี้ยหอยขาว === | ||
ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Aonidomytilus albus'' (Cockerell) ตัวเต็มวัยเพศเมียมีแผ่นคล้ายเปลือกหอยแมลงภู่สีขาวคลุมลำตัว แผ่นลำตัวยาวประมาณ 1.7-2.5 มิลลิเมตร กว่างประมาณ 0.9-1.2 มิลลิเมตร เมื่อเปิดแผ่นปกคลุมลำตัวขึ้นจะพบตัวเพลี้ยหอยเกล็ดซึ่งมีขนาดเล็ก ลำตัวมีสีเหลืองอ่อนจนถึงสีเหลืองเข้ม ดูดกินน้ำเลี้ยงที่ลำต้น ก้านใบ และหลังใบมันสำปะหลัง มีพืชอาหารกว่า 21 ชนิด วงจรชีวิตเวลาประมาณ 24-29 วัน ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ (อุดมศักดิ์, 2555) | ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Aonidomytilus albus'' (Cockerell) ตัวเต็มวัยเพศเมียมีแผ่นคล้ายเปลือกหอยแมลงภู่สีขาวคลุมลำตัว แผ่นลำตัวยาวประมาณ 1.7-2.5 มิลลิเมตร กว่างประมาณ 0.9-1.2 มิลลิเมตร เมื่อเปิดแผ่นปกคลุมลำตัวขึ้นจะพบตัวเพลี้ยหอยเกล็ดซึ่งมีขนาดเล็ก ลำตัวมีสีเหลืองอ่อนจนถึงสีเหลืองเข้ม ดูดกินน้ำเลี้ยงที่ลำต้น ก้านใบ และหลังใบมันสำปะหลัง มีพืชอาหารกว่า 21 ชนิด วงจรชีวิตเวลาประมาณ 24-29 วัน ขึ้นอยู่กับสภาพอากาศ (อุดมศักดิ์, 2555) | ||
[[ไฟล์:Image09.png|thumb|ลักษณะของเพลี้ยหอยเข้าทำลายบริเวณลำต้นของมันสำปะหลัง]] | [[ไฟล์:Image09.png|thumb|ลักษณะของเพลี้ยหอยเข้าทำลายบริเวณลำต้นของมันสำปะหลัง]] | ||
=== | === การป้องกันกำจัด === | ||
ทำการแช่ท่อนพันธุ์ก่อนปลูกด้วยสาร เช่น ไทอะมีโธแซม 4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ อิมิดาคลอพริด 4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ซึ่งเป็นสารที่แนะนำมาใช้ในการกำจัดเพลี้ยแป้งได้ เมื่อพบการแพร่ระบาดในแปลงควรใช้สารเคมีที่ได้มีการแนะนำข้างต้นผสมกับ ไวท์ออย (white oil) อัตรา 50 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร โดยผสมในน้ำปริมาณน้อย คนให้สารละลายเข้ากันได้ดีก่อนเติมน้ำจนได้ปริมาตรตามต้องการ (อุดมศักดิ์, 2555) | ทำการแช่ท่อนพันธุ์ก่อนปลูกด้วยสาร เช่น ไทอะมีโธแซม 4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร หรือ อิมิดาคลอพริด 4 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร ซึ่งเป็นสารที่แนะนำมาใช้ในการกำจัดเพลี้ยแป้งได้ เมื่อพบการแพร่ระบาดในแปลงควรใช้สารเคมีที่ได้มีการแนะนำข้างต้นผสมกับ ไวท์ออย (white oil) อัตรา 50 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร โดยผสมในน้ำปริมาณน้อย คนให้สารละลายเข้ากันได้ดีก่อนเติมน้ำจนได้ปริมาตรตามต้องการ (อุดมศักดิ์, 2555) | ||
== '''ปลวก''' == | == '''ปลวก''' == | ||
ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Odontotermes takensis'' (Ahmad) มีลักษณะคล้ายมดแต่มีลำตัวสีขาว มีการสร้างทางเดินที่มีดินหุ้มเพื่อรักษาความชื้น ซึ่งจะเห็นดินเป็นทางยาวตามลำต้นหรือเป็นแผ่นหุ้มทั้งลำต้น ปลวกอยู่รวมกันเป็นสังคม รังของปลวกอาจเป็นจอมปลวกเหนือดินหรือ อยู่ใต้ดิน ในฤดูแล้งมักพบปัญหาปลวกกัดกินต้นและหัวมันสำปะหลัง การทำลายของปลวกสังเกตได้จากดินที่พอกอยู่บริเวณโคนต้นมันสำปะหลัง (อุดมศักดิ์, 2555) | ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Odontotermes takensis'' (Ahmad) มีลักษณะคล้ายมดแต่มีลำตัวสีขาว มีการสร้างทางเดินที่มีดินหุ้มเพื่อรักษาความชื้น ซึ่งจะเห็นดินเป็นทางยาวตามลำต้นหรือเป็นแผ่นหุ้มทั้งลำต้น ปลวกอยู่รวมกันเป็นสังคม รังของปลวกอาจเป็นจอมปลวกเหนือดินหรือ อยู่ใต้ดิน ในฤดูแล้งมักพบปัญหาปลวกกัดกินต้นและหัวมันสำปะหลัง การทำลายของปลวกสังเกตได้จากดินที่พอกอยู่บริเวณโคนต้นมันสำปะหลัง (อุดมศักดิ์, 2555) | ||
[[ไฟล์:Image12.png|thumb|ลักษณะของปลวก]] | [[ไฟล์:Image12.png|thumb|ลักษณะของปลวก]] | ||
[[ไฟล์:Image13.png|thumb|ลักษณะของปลวก]] | [[ไฟล์:Image13.png|thumb|ลักษณะของปลวก]] | ||
=== | === การป้องกันกำจัด === | ||
ทำการป้องกันก่อนการปลูกด้วยสารเคมี อิมิดาคลอพริด อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์ หากมีการระบาดในช่วงหลังปลูก ให้พ้นที่โคนต้นด้วยสาร ฟีโพรนิล อัตราส่วน 80 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร (อุดมศักดิ์, 2555) | ทำการป้องกันก่อนการปลูกด้วยสารเคมี อิมิดาคลอพริด อัตรา 10 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร แช่ท่อนพันธุ์ หากมีการระบาดในช่วงหลังปลูก ให้พ้นที่โคนต้นด้วยสาร ฟีโพรนิล อัตราส่วน 80 มิลลิลิตรต่อน้ำ 20 ลิตร (อุดมศักดิ์, 2555) | ||
== '''แมลงนูนหลวง''' == | == '''แมลงนูนหลวง''' == | ||
ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Lepidiota stigma'' Fabricius เป็นแมลงที่เข้าทำลายมันสำปะหลังในช่วงอายุ 1-3 เดือน โดยมีการระบาดมากในช่วงสภาพอากาศแห้แล้งเป็นเวลายาวนาน แมลงนูนหลวงจะทำลายโดยการกัดกินผิวของท่อนพันธุ์หรือผิวรากแล้วเจาะรูเข้าไปในเนื้อไม้ ทำให้รากเน่า หรือต้นตายได้ (อุดมศักดิ์, 2555) | ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Lepidiota stigma'' Fabricius เป็นแมลงที่เข้าทำลายมันสำปะหลังในช่วงอายุ 1-3 เดือน โดยมีการระบาดมากในช่วงสภาพอากาศแห้แล้งเป็นเวลายาวนาน แมลงนูนหลวงจะทำลายโดยการกัดกินผิวของท่อนพันธุ์หรือผิวรากแล้วเจาะรูเข้าไปในเนื้อไม้ ทำให้รากเน่า หรือต้นตายได้ (อุดมศักดิ์, 2555) | ||
[[ไฟล์:Image14.png|thumb|ลักษณะบริเวณโคนต้นถูกแมลงนูนหลวงทำลาย]] | [[ไฟล์:Image14.png|thumb|ลักษณะบริเวณโคนต้นถูกแมลงนูนหลวงทำลาย]] | ||
=== การป้องกันกำจัง === | === การป้องกันกำจัง === | ||
แมลงนูนหลวงเป็นแมลงที่มีระยะตัวเต็มวัยปีละ 1 ครั้ง โดยเกษตรกรต้องทำการเก็บตัวเต็มวัยทำลาย โดยเฉพาะในช่วงประมาณเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม เป้นช่วงที่แมลงผสมพันธุ์จะช่วยให้ปริมาณแมลงลดลงได้ ในบริเวณที่มีการเข้าทำลายมากให้ทำการไถพรวนหลายๆครั้ง เพื่อทำลายไข่และหนอนก่อนที่จะเป็นตัวเต็มวัย (อุดมศักดิ์, 2555) | แมลงนูนหลวงเป็นแมลงที่มีระยะตัวเต็มวัยปีละ 1 ครั้ง โดยเกษตรกรต้องทำการเก็บตัวเต็มวัยทำลาย โดยเฉพาะในช่วงประมาณเดือนมิถุนายน-กรกฎาคม เป้นช่วงที่แมลงผสมพันธุ์จะช่วยให้ปริมาณแมลงลดลงได้ ในบริเวณที่มีการเข้าทำลายมากให้ทำการไถพรวนหลายๆครั้ง เพื่อทำลายไข่และหนอนก่อนที่จะเป็นตัวเต็มวัย (อุดมศักดิ์, 2555) | ||
การแก้ไข