223
การแก้ไข
บรรทัดที่ 9: | บรรทัดที่ 9: | ||
== '''การเตรียมดิน''' == | == '''การเตรียมดิน''' == | ||
แปลงขยายพันธุ์ควรเป็นแปลงที่มีระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลางถึงสูง มีการระบายน้ำดี ไม่มีน้ำท่วมขังในช่วงฤดูฝน ควรหลีกเลี่ยงปลูกในดินที่ชื้นแฉะ<ref name=":1" /> เพราะหัวมันสำปะหลังจะเน่าเสียได้ง่ายและมีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคสูง การเตรียมดินควรไถ 2 ครั้ง โดยผาน 3 และผาน 7 ควรไถให้ลึกประมาณ 8 – 12 นิ้ว โดยไถกลบเศษเหลือของพืช เช่น ลําต้น เหง้า ใบ และยอดของมันสําปะหลังที่เหลือจากการเก็บเกี่ยว ไม่ควรเผาหรือเคลื่อนย้ายออกจากพื้นที่เพาะปลูก เพราะการเผาทิ้งหรือขนย้ายไปทิ้งจะทําให้ธาตุอาหารสญหายไปเป็นจํานวนมาก สำหรับพื้นที่ปลูกที่ลาดเอียง เพื่อลดการสูญเสียหน้าดิน และพื้นที่ปลูกที่มีน้ำท่วมขัง ควรทำร่องระบายน้ำและยกร่องปลูก การเตรียมดินสำหรับปลูกมันสำปะหลังทำได้ ดังนี้ | แปลงขยายพันธุ์ควรเป็นแปลงที่มีระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลางถึงสูง มีการระบายน้ำดี ไม่มีน้ำท่วมขังในช่วงฤดูฝน ควรหลีกเลี่ยงปลูกในดินที่ชื้นแฉะ<ref name=":1" /> เพราะหัวมันสำปะหลังจะเน่าเสียได้ง่ายและมีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคสูง การเตรียมดินควรไถ 2 ครั้ง โดยผาน 3 และผาน 7 ควรไถให้ลึกประมาณ 8 – 12 นิ้ว โดยไถกลบเศษเหลือของพืช เช่น ลําต้น เหง้า ใบ และยอดของมันสําปะหลังที่เหลือจากการเก็บเกี่ยว ไม่ควรเผาหรือเคลื่อนย้ายออกจากพื้นที่เพาะปลูก เพราะการเผาทิ้งหรือขนย้ายไปทิ้งจะทําให้ธาตุอาหารสญหายไปเป็นจํานวนมาก สำหรับพื้นที่ปลูกที่ลาดเอียง เพื่อลดการสูญเสียหน้าดิน และพื้นที่ปลูกที่มีน้ำท่วมขัง ควรทำร่องระบายน้ำและยกร่องปลูก<ref name=":2" /> การเตรียมดินสำหรับปลูกมันสำปะหลังทำได้ ดังนี้ | ||
* '''การไม่ไถพรวนดิน''' จะมีการยกร่องหรือไม่ยกร่องก็ได้ เหมาะสำหรับการปลูกมันสำปะหลังปลายฤดูฝนในดินทราย หรือดินทรายปนร่วน เนื่องจากความชื้นในดินมีเพียงพอต่อการงอก<ref name=":1">สมลักษณ์ จูฑังคะ. 2551. เทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลัง. วารสารวิชาการ. ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง กรมวิชาการเกษตร. </ref> | * '''การไม่ไถพรวนดิน''' จะมีการยกร่องหรือไม่ยกร่องก็ได้ เหมาะสำหรับการปลูกมันสำปะหลังปลายฤดูฝนในดินทราย หรือดินทรายปนร่วน เนื่องจากความชื้นในดินมีเพียงพอต่อการงอก<ref name=":1">สมลักษณ์ จูฑังคะ. 2551. เทคโนโลยีการผลิตมันสำปะหลัง. วารสารวิชาการ. ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง กรมวิชาการเกษตร. </ref> | ||
บรรทัดที่ 22: | บรรทัดที่ 22: | ||
=== '''การปลูกด้วยท่อนพันธุ์''' === | === '''การปลูกด้วยท่อนพันธุ์''' === | ||
ปลูกมันสำปะหลังด้วยท่อนพันธุ์ที่มีความยาวประมาณ 20 – 25 เซนติเมตร ระยะปลูก ระยะปลูกมันสำปะหลังสามารถปลูกได้ตั้งแต่ระยะ 60 X 60 เซนติเมตร จนถึง 120 X 120 เซนติเมตร โดยระยะ 100 X 100 เซนติเมตร จะมีแนวโน้มให้ผลผลิตสูงกว่าระยะอื่นๆ แต่ถ้าหากเกษตรกรมีการใช้เครื่องทุ่นแรงระยะปลูกระหว่างแถว X ต้น อาจใช้ 120 X 80 เซนติเมตร เพื่อสะดวกในการใช้เครื่องทุ่นแรง<ref>ไกวัล กล้าแข็ง และวิลาวัลย์ วงษ์เกษม. 2548. การปลูกมันสำปะหลัง. กรมส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี.</ref> วิธีการปลูกมันสำปะหลังของเกษตรกรมี ดังนี้ คือ | ปลูกมันสำปะหลังด้วยท่อนพันธุ์ที่มีความยาวประมาณ 20 – 25 เซนติเมตร ระยะปลูก ระยะปลูกมันสำปะหลังสามารถปลูกได้ตั้งแต่ระยะ 60 X 60 เซนติเมตร จนถึง 120 X 120 เซนติเมตร โดยระยะ 100 X 100 เซนติเมตร จะมีแนวโน้มให้ผลผลิตสูงกว่าระยะอื่นๆ แต่ถ้าหากเกษตรกรมีการใช้เครื่องทุ่นแรงระยะปลูกระหว่างแถว X ต้น อาจใช้ 120 X 80 เซนติเมตร เพื่อสะดวกในการใช้เครื่องทุ่นแรง<ref name=":2">ไกวัล กล้าแข็ง และวิลาวัลย์ วงษ์เกษม. 2548. การปลูกมันสำปะหลัง. กรมส่งเสริมการเกษตร สำนักพัฒนาการถ่ายทอดเทคโนโลยี.</ref> วิธีการปลูกมันสำปะหลังของเกษตรกรมี ดังนี้ คือ | ||
* '''การปลูกแบบนอน''' (ปัจจุบันไม่นิยมปลูกด้วยวิธีนี้) เป็นวิธีการปลูกแบบเก่า เพราะต้นมันสำปะหลังจะงอกโผล่พ้นดินช้ากว่าวัชพืช ทำให้การกำจัดวัชพืชลำบากมากขึ้น แต่มีข้อดี คือ ถ้าดินมีความชื้นน้อยการปลูกด้วยวิธีนี้จะทำให้มีจำนวนต้นอยู่รอดมาก และไม่ต้องระวังว่าจะปลูกโดยเอายอดลงดินซึ่งจะทำให้ตาไม่งอก | * '''การปลูกแบบนอน''' (ปัจจุบันไม่นิยมปลูกด้วยวิธีนี้) เป็นวิธีการปลูกแบบเก่า เพราะต้นมันสำปะหลังจะงอกโผล่พ้นดินช้ากว่าวัชพืช ทำให้การกำจัดวัชพืชลำบากมากขึ้น แต่มีข้อดี คือ ถ้าดินมีความชื้นน้อยการปลูกด้วยวิธีนี้จะทำให้มีจำนวนต้นอยู่รอดมาก และไม่ต้องระวังว่าจะปลูกโดยเอายอดลงดินซึ่งจะทำให้ตาไม่งอก |
การแก้ไข