132
การแก้ไข
บรรทัดที่ 381: | บรรทัดที่ 381: | ||
ลัดดาวัลย์ (2556)<ref>ลัดดาวัลย์ หอกกิ่ง. 2556. ผลของการใช้กากามันสำปะหลังต่อการย่อยได้ของโภชนะ สมรรถนะ การผลิตคุณภาพไข่ คอเลสเตอรอลในไข่แดง และการเปลี่ยนแปลงประชาการจุลินทรีย์ของไก่ไข่. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์. 111 หน้า.</ref> รายงานภาพรวมแล้วกากมันสำปะหลังมีโปรตีนอยู่ในช่วง 1.55–3.42 เปอร์เซนต์ ไขมัน 0.12–0.53 เปอร์เซนต์ เถ้า 1.70–5.73 เปอร์เซนต์ เยื่อใย 10.38 – 15.26 เปอร์เซ็นต์ และแป้ง 47.97–68.89 เปอร์เซ็นต์ อย่างไรก็ตามองค์ประกอบทางโภชนาการมีความแปรผันขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น คุณภาพของมันสำปะหลังที่นำมาใช้ในกรรมวิธีการสกัดแป้ง สายพันธุ์มันสำปะหลัง อายุการเก็บเกี่ยว ความสมบูรณ์ของดิน และสภาพแวดล้อมในพื้นที่ปลูก รวมทั้งกระบวนการผลิตที่แตกต่างกันของแต่ละโรงงาน | ลัดดาวัลย์ (2556)<ref>ลัดดาวัลย์ หอกกิ่ง. 2556. ผลของการใช้กากามันสำปะหลังต่อการย่อยได้ของโภชนะ สมรรถนะ การผลิตคุณภาพไข่ คอเลสเตอรอลในไข่แดง และการเปลี่ยนแปลงประชาการจุลินทรีย์ของไก่ไข่. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์. 111 หน้า.</ref> รายงานภาพรวมแล้วกากมันสำปะหลังมีโปรตีนอยู่ในช่วง 1.55–3.42 เปอร์เซนต์ ไขมัน 0.12–0.53 เปอร์เซนต์ เถ้า 1.70–5.73 เปอร์เซนต์ เยื่อใย 10.38 – 15.26 เปอร์เซ็นต์ และแป้ง 47.97–68.89 เปอร์เซ็นต์ อย่างไรก็ตามองค์ประกอบทางโภชนาการมีความแปรผันขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น คุณภาพของมันสำปะหลังที่นำมาใช้ในกรรมวิธีการสกัดแป้ง สายพันธุ์มันสำปะหลัง อายุการเก็บเกี่ยว ความสมบูรณ์ของดิน และสภาพแวดล้อมในพื้นที่ปลูก รวมทั้งกระบวนการผลิตที่แตกต่างกันของแต่ละโรงงาน | ||
[[ไฟล์:การตัดหัวมันสำปะหลังโดยใช้แรงงานคน.png|thumb|การสับหัวมันสำปะหลัง]] | |||
=== '''Flour''' === | === '''Flour''' === |
การแก้ไข