223
การแก้ไข
บรรทัดที่ 8: | บรรทัดที่ 8: | ||
อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตคือ 25 – 37 องศาเซลเซียส ซึ่งมีผลกระทบต่อการงอกของท่อนพันธุ์ปลูก ขนาดใบ การสร้างใบ การสร้างหัวสะสมอาหาร และการเจริญเติบโตทั่วไปในสภาพที่อุณหภูมิต่ำที่ 16 องศาเซลเซียส มีผลต่อการแตกใบและการงอกรากจากท่อนปลูก อัตราการสร้างใบ การสร้างน้ำหนักแห้งทั้งต้น และการสะสมน้ำหนักแห้งของหัวลดลง การแตกใบและการงอกรากจากท่อนปลูกได้ดีเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นจนถึง 30 องศาเซลเซียส และถูกยับยั้งเมื่ออุณหภูมิสูงถึง 37 องศาเซลเซียส<ref>ชินพัฒน์ธนา สุขวิบูลย์. 2558. การบริหารและจัดการระบบพัฒนาที่ดินเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังในประเทศไทย. วารสารอนุรักษ์ดินและน้ำ. 31, 2 (เม.ย. 2559) :36-47 </ref> | อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตคือ 25 – 37 องศาเซลเซียส ซึ่งมีผลกระทบต่อการงอกของท่อนพันธุ์ปลูก ขนาดใบ การสร้างใบ การสร้างหัวสะสมอาหาร และการเจริญเติบโตทั่วไปในสภาพที่อุณหภูมิต่ำที่ 16 องศาเซลเซียส มีผลต่อการแตกใบและการงอกรากจากท่อนปลูก อัตราการสร้างใบ การสร้างน้ำหนักแห้งทั้งต้น และการสะสมน้ำหนักแห้งของหัวลดลง การแตกใบและการงอกรากจากท่อนปลูกได้ดีเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นจนถึง 30 องศาเซลเซียส และถูกยับยั้งเมื่ออุณหภูมิสูงถึง 37 องศาเซลเซียส<ref>ชินพัฒน์ธนา สุขวิบูลย์. 2558. การบริหารและจัดการระบบพัฒนาที่ดินเพื่อเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังในประเทศไทย. วารสารอนุรักษ์ดินและน้ำ. 31, 2 (เม.ย. 2559) :36-47 </ref> | ||
== '''การเตรียมดิน''' | == '''การเตรียมดิน''' == | ||
แปลงขยายพันธุ์ควรเป็นแปลงที่มีระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลางถึงสูง มีการระบายน้ำดี ไม่มีน้ำท่วมขังในช่วงฤดูฝน ควรหลีกเลี่ยงปลูกในดินที่ชื้นแฉะ เพราะหัวมันสำปะหลังจะเน่าเสียได้ง่ายและมีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคสูง การเตรียมดินควรไถ 2 ครั้ง โดยผาน 3 และผาน 7 ควรไถให้ลึกประมาณ 8 – 12 นิ้ว โดยไถกลบเศษเหลือของพืช เช่น ลําต้น เหง้า ใบ และยอดของมันสําปะหลังที่เหลือจากการเก็บเกี่ยว ไม่ควรเผาหรือเคลื่อนย้ายออกจากพื้นที่เพาะปลูก เพราะการเผาทิ้งหรือขนย้ายไปทิ้งจะทําให้ธาตุอาหารสญหายไปเป็นจํานวนมาก สำหรับพื้นที่ปลูกที่ลาดเอียง เพื่อลดการสูญเสียหน้าดิน และพื้นที่ปลูกที่มีน้ำท่วมขัง ควรทำร่องระบายน้ำและยกร่องปลูก การเตรียมดินสำหรับปลูกมันสำปะหลังทำได้ ดังนี้ | แปลงขยายพันธุ์ควรเป็นแปลงที่มีระดับความอุดมสมบูรณ์ของดินปานกลางถึงสูง มีการระบายน้ำดี ไม่มีน้ำท่วมขังในช่วงฤดูฝน ควรหลีกเลี่ยงปลูกในดินที่ชื้นแฉะ เพราะหัวมันสำปะหลังจะเน่าเสียได้ง่ายและมีปริมาณกรดไฮโดรไซยานิคสูง การเตรียมดินควรไถ 2 ครั้ง โดยผาน 3 และผาน 7 ควรไถให้ลึกประมาณ 8 – 12 นิ้ว โดยไถกลบเศษเหลือของพืช เช่น ลําต้น เหง้า ใบ และยอดของมันสําปะหลังที่เหลือจากการเก็บเกี่ยว ไม่ควรเผาหรือเคลื่อนย้ายออกจากพื้นที่เพาะปลูก เพราะการเผาทิ้งหรือขนย้ายไปทิ้งจะทําให้ธาตุอาหารสญหายไปเป็นจํานวนมาก สำหรับพื้นที่ปลูกที่ลาดเอียง เพื่อลดการสูญเสียหน้าดิน และพื้นที่ปลูกที่มีน้ำท่วมขัง ควรทำร่องระบายน้ำและยกร่องปลูก การเตรียมดินสำหรับปลูกมันสำปะหลังทำได้ ดังนี้ | ||
บรรทัดที่ 15: | บรรทัดที่ 15: | ||
* '''การไถพรวนน้อยครั้ง''' ทำการไถพรวนโดยใช้ผาล 7 เพียงครั้งเดียว ตามด้วยการยกร่อง หรือไม่ยกร่อง แต่ไม่ควรใช้วิธีนี้ติดต่อกันหลายปี เพราะจะทำให้เกิดชั้นดินดานในระดับดินล่างตื้น<ref name=":1" /> | * '''การไถพรวนน้อยครั้ง''' ทำการไถพรวนโดยใช้ผาล 7 เพียงครั้งเดียว ตามด้วยการยกร่อง หรือไม่ยกร่อง แต่ไม่ควรใช้วิธีนี้ติดต่อกันหลายปี เพราะจะทำให้เกิดชั้นดินดานในระดับดินล่างตื้น<ref name=":1" /> | ||
* '''การไถพรวนมากกว่า 1 ครั้ง''' ทำการไถพลิกฟื้นดินโดยใช้ผาล 3 และพรวนดินโดยใช้ผาล 7 เพียงครั้งเดียว หรือ 2 ครั้งขึ้นอยู่กับสภาพของดิน ตามด้วยการยกร่องหรือไม่ยกร่อง<ref name=":1" / | * '''การไถพรวนมากกว่า 1 ครั้ง''' ทำการไถพลิกฟื้นดินโดยใช้ผาล 3 และพรวนดินโดยใช้ผาล 7 เพียงครั้งเดียว หรือ 2 ครั้งขึ้นอยู่กับสภาพของดิน ตามด้วยการยกร่องหรือไม่ยกร่อง การไถพรวนบ่อยครั้งเกินไป ทำให้ดินสูญเสียธาตุอาหารได้เร็ว เนื่องจากจะไปช่วยเร่งให้ขบวนการย่อยสลายเกิดขึ้นเร็วขึ้น และทำให้เกิดการสูญเสียน้ำในดิน<ref name=":1" /> | ||
หากดินที่ทำการเพาะปลูกมันติดต่อกันหลายปี ควรปรับปรุงดิน เพื่อรักษาระดับผลผลิตในระยะยาว ด้วยการใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักเปลือกมันชนิดเก่าค้างปี (จากโรงแป้งทั่วไป) ที่หาได้ในท้องถิ่น หรือ ปลูกพืชตระกูลถั่วต่าง ๆ หมุนเวียนบำรุงดิน ในกรณีที่พื้นที่ประเภทหญ้าคา ควรใช้ยาราวด์อัพหากเป็นเครือเถาต่าง ๆ ควรใช้ยาสตาร์เรน ฉีดพ่นยาจำกัดเสียก่อนการไถ จากนั้นไถครั้งแรกโดยไถกลบวัชพืชก่อนปลูกด้วยผาน 3 (ห้ามเผาทำลายวัชพืช) ให้ลึกประมาณ 20 – 30 เซนติเมตร แล้วทิ้งระยะไว้ประมาณ 20 – 30 วัน เพื่อหมักวัชพืชเป็นปุ๋ยในดินต่อไป ไถพรวนด้วยผาน 7 อีก 1 - 2 ครั้ง ตามความเหมาะสม และรีบปลูกโดยเร็ว ในขณะที่ดินยังมีความชื้นอยู่ | หากดินที่ทำการเพาะปลูกมันติดต่อกันหลายปี ควรปรับปรุงดิน เพื่อรักษาระดับผลผลิตในระยะยาว ด้วยการใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมักเปลือกมันชนิดเก่าค้างปี (จากโรงแป้งทั่วไป) ที่หาได้ในท้องถิ่น หรือ ปลูกพืชตระกูลถั่วต่าง ๆ หมุนเวียนบำรุงดิน ในกรณีที่พื้นที่ประเภทหญ้าคา ควรใช้ยาราวด์อัพหากเป็นเครือเถาต่าง ๆ ควรใช้ยาสตาร์เรน ฉีดพ่นยาจำกัดเสียก่อนการไถ จากนั้นไถครั้งแรกโดยไถกลบวัชพืชก่อนปลูกด้วยผาน 3 (ห้ามเผาทำลายวัชพืช) ให้ลึกประมาณ 20 – 30 เซนติเมตร แล้วทิ้งระยะไว้ประมาณ 20 – 30 วัน เพื่อหมักวัชพืชเป็นปุ๋ยในดินต่อไป ไถพรวนด้วยผาน 7 อีก 1 - 2 ครั้ง ตามความเหมาะสม และรีบปลูกโดยเร็ว ในขณะที่ดินยังมีความชื้นอยู่ |
การแก้ไข