134
การแก้ไข
บรรทัดที่ 3: | บรรทัดที่ 3: | ||
== '''เพลี้ยแป้งลาย''' == | == '''เพลี้ยแป้งลาย''' == | ||
เพลี้ยแป้งลาย (Striped mealybug; ''Ferrisia virgata'' Cockerell) มีลักษณะรูปร่างลำตัวคล้ายลิ่ม ผนังลำตัวสีเทา มีผงแป้งปกคลุมลำตัวยาวเป็นเงาคล้ายเส้นใยแก้ว มีแถบดำบนลำตัว 2 แถบชัดเจน ปลายท้องมีหางคล้ายเส้นแป้ง 2 เส้น ยาวครึ่งหนึ่งของลำตัว พบการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง นอกจากนี้ยังพบการเข้าทำลายในพืชหลายชนิด เช่น มะละกอ น้อยหน่า และไม้ดอกบางชนิด เช่น ชบา เป็นต้น ที่ผ่านมาการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ยังไม่ถึงระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการควบคุมด้วยศัตรูธรรมชาติคือตัวห้ำและตัวเบียนอย่างสมดุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" /> | เพลี้ยแป้งลาย (Striped mealybug; ''Ferrisia virgata'' Cockerell) มีลักษณะรูปร่างลำตัวคล้ายลิ่ม ผนังลำตัวสีเทา มีผงแป้งปกคลุมลำตัวยาวเป็นเงาคล้ายเส้นใยแก้ว มีแถบดำบนลำตัว 2 แถบชัดเจน ปลายท้องมีหางคล้ายเส้นแป้ง 2 เส้น ยาวครึ่งหนึ่งของลำตัว พบการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง นอกจากนี้ยังพบการเข้าทำลายในพืชหลายชนิด เช่น มะละกอ น้อยหน่า และไม้ดอกบางชนิด เช่น ชบา เป็นต้น ที่ผ่านมาการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ยังไม่ถึงระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการควบคุมด้วยศัตรูธรรมชาติคือตัวห้ำและตัวเบียนอย่างสมดุล (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" /> | ||
[[ไฟล์:Image 01.png|thumb|เพลี้ยแป้งลาย (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | |||
== เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (เพลี้ยแป้งสีเทา) == | == เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (เพลี้ยแป้งสีเทา) == | ||
เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (Jack-beardsley mealybug; ''Pseudococcus'' ''jackbeardsleyi'' Gimpel & Miller) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเทาอมชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งเรียงกันจำนวนมาก เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว พบระบาดทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ชอบอยู่บริเวณโคนต้นหรือในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" /> | เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (Jack-beardsley mealybug; ''Pseudococcus'' ''jackbeardsleyi'' Gimpel & Miller) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเทาอมชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งเรียงกันจำนวนมาก เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว พบระบาดทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ชอบอยู่บริเวณโคนต้นหรือในดิน (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" /> | ||
[[ไฟล์:Image02.png|thumb|เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | |||
== เพลี้ยแป้งเขียว == | == เพลี้ยแป้งเขียว == | ||
เพลี้ยแป้งสีเขียว (Madeira mealybug; ''Phenococcus madeiresis'' Green) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเขียวอมเหลือง มีผงแป้งสีขาวปกคลุมบาง ๆ บนลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว และที่ลำตัวมีสันนูน 3 แนว ตามความยาวของลำตัว เส้นที่นูนที่สุดอยู่ตรงกลางลำตัว ถุงไข่ของเพลี้ยแป้งสีเขียวอยู่ส่วนหลังบนลำตัว อายุของตัวเต็มวัยขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ หากที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 30 วัน ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 46 วัน เพลี้ยแป้งสีเขียวชอบดูดกินอยู่บริเวณใบแก่ พบระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังบางพื้นที่ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" /> | เพลี้ยแป้งสีเขียว (Madeira mealybug; ''Phenococcus madeiresis'' Green) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเขียวอมเหลือง มีผงแป้งสีขาวปกคลุมบาง ๆ บนลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว และที่ลำตัวมีสันนูน 3 แนว ตามความยาวของลำตัว เส้นที่นูนที่สุดอยู่ตรงกลางลำตัว ถุงไข่ของเพลี้ยแป้งสีเขียวอยู่ส่วนหลังบนลำตัว อายุของตัวเต็มวัยขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ หากที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 30 วัน ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 46 วัน เพลี้ยแป้งสีเขียวชอบดูดกินอยู่บริเวณใบแก่ พบระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังบางพื้นที่ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" /> | ||
[[ไฟล์:Image03.png|thumb|เพลี้ยแป้งสีเขียว (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | |||
[[ไฟล์:Image07.png|thumb|สภาพแปลงที่เพลี้ยแป้งสีชมพูเข้าทำลายอย่างรุนแรง (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | |||
== เพลี้ยแป้งสีชมพู == | == เพลี้ยแป้งสีชมพู == | ||
เพลี้ยแป้งสีชมพู (Pink mealybug; ''Phenococcus manihoti'' Matile&Ferrero) มีลักษณะลำตัวรูปไข่ ผนังลำตัวสีชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้นหรือไม่ปรากฏให้เห็น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องค่อนข้างสั้น ขยายพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ วางไข่อยู่ในถุงไข่ อยู่เป็นกลุ่ม เพลี้ยแป้งชนิดนี้เป็นชนิดที่สร้างความเสียหายแก่มันสำปะหลังมากที่สุด พบระบาดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2516 ที่ประเทศคองโก มีการใช้แตนเบียนควบคุมโดยใช้เวลานานกว่า 10 ปี จึงสามารถควบคุมการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพูได้ สำหรับประเทศไทยเพลี้ยแป้งชนิดนี้เริ่มระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังเมื่อปี พ.ศ. 2551 และต่อมาได้สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังอย่างรุนแรง ทำให้เกิดความเสียหายในระดับเศรษฐกิจในทุกพื้นที่ที่มีการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" /> | เพลี้ยแป้งสีชมพู (Pink mealybug; ''Phenococcus manihoti'' Matile&Ferrero) มีลักษณะลำตัวรูปไข่ ผนังลำตัวสีชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้นหรือไม่ปรากฏให้เห็น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องค่อนข้างสั้น ขยายพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ วางไข่อยู่ในถุงไข่ อยู่เป็นกลุ่ม เพลี้ยแป้งชนิดนี้เป็นชนิดที่สร้างความเสียหายแก่มันสำปะหลังมากที่สุด พบระบาดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2516 ที่ประเทศคองโก มีการใช้แตนเบียนควบคุมโดยใช้เวลานานกว่า 10 ปี จึงสามารถควบคุมการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพูได้ สำหรับประเทศไทยเพลี้ยแป้งชนิดนี้เริ่มระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังเมื่อปี พ.ศ. 2551 และต่อมาได้สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังอย่างรุนแรง ทำให้เกิดความเสียหายในระดับเศรษฐกิจในทุกพื้นที่ที่มีการปลูกมันสำปะหลัง (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)<ref name=":0" /> | ||
[[ไฟล์:Image04.png|thumb|เพลี้ยแป้งชมพูหรือเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | |||
[[ไฟล์:Image 05.png|thumb|สภาพแปลงที่พบการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพู (ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | |||
[[ไฟล์:Image06.png|thumb|ยอดของต้นมันสำปะหลังที่ถูกเพลี้ยแป้งสีชมพูเข้าทำลาย(ภาพได้รับอนุญาตจาก ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)]] | |||
== การประเมินการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง == | == การประเมินการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง == |
การแก้ไข