134
การแก้ไข
(สร้างหน้าด้วย "การเข้าทำลายต้นมันสำปะหลังของตัวอ่อนและตัวเต็มวัยขอ...") |
|||
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
การเข้าทำลายต้นมันสำปะหลังของตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของเพลี้ยแป้ง (Mealybugs) โดยการใช้ส่วนของปาก (stylet) ที่มีลักษณะเป็นท่อยาวดูดกินน้ำเลี้ยงตามส่วนต่าง ๆ เช่น ใบ ยอด ขณะเดียวกันเพลี้ยแป้งจะถ่ายมูลทำให้เกิดราดำบนต้นพืช ทำให้พืชสังเคราะห์แสงได้น้อยลง เจริญเติบโตได้ไม่เติมที่ ลำต้นมีช่วงข้อถี่และบิดงอ ยอดแห้งตาย หรือยอดแตกพุ่ม มีผลกระทบต่อการสร้างหัว และหากระบาดในขณะพืชมีอายุน้อยหรือต้นขนาดเล็ก อาจทำให้ต้นตายได้ พบเพลี้ยแป้งระบาดมากในช่วงฤดูแล้ง นอกจากเพลี้ยแป้งจะส่งผลกระทบต่อผลผลิตทั้งด้านปริมาณและคุณภาพแล้วยังทำให้ขาดแคลนท่อนพันธุ์อีกด้วย เพลี้ยแป้งที่เข้าทำลายมันสำปะหลังมี 4 ชนิด คือ เพลี้ยแป้งลาย เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ เพลี้ยแป้งสีเขียว และเพลี้ยแป้งสีชมพู | การเข้าทำลายต้นมันสำปะหลังของตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของเพลี้ยแป้ง (Mealybugs) โดยการใช้ส่วนของปาก (stylet) ที่มีลักษณะเป็นท่อยาวดูดกินน้ำเลี้ยงตามส่วนต่าง ๆ เช่น ใบ ยอด ขณะเดียวกันเพลี้ยแป้งจะถ่ายมูลทำให้เกิดราดำบนต้นพืช ทำให้พืชสังเคราะห์แสงได้น้อยลง เจริญเติบโตได้ไม่เติมที่ ลำต้นมีช่วงข้อถี่และบิดงอ ยอดแห้งตาย หรือยอดแตกพุ่ม มีผลกระทบต่อการสร้างหัว และหากระบาดในขณะพืชมีอายุน้อยหรือต้นขนาดเล็ก อาจทำให้ต้นตายได้ พบเพลี้ยแป้งระบาดมากในช่วงฤดูแล้ง นอกจากเพลี้ยแป้งจะส่งผลกระทบต่อผลผลิตทั้งด้านปริมาณและคุณภาพแล้วยังทำให้ขาดแคลนท่อนพันธุ์อีกด้วย เพลี้ยแป้งที่เข้าทำลายมันสำปะหลังมี 4 ชนิด คือ เพลี้ยแป้งลาย เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ เพลี้ยแป้งสีเขียว และเพลี้ยแป้งสีชมพู (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
== '''เพลี้ยแป้งลาย''' == | == '''เพลี้ยแป้งลาย''' == | ||
เพลี้ยแป้งลาย (Striped mealybug; ''Ferrisia virgata'' Cockerell) มีลักษณะรูปร่างลำตัวคล้ายลิ่ม ผนังลำตัวสีเทา มีผงแป้งปกคลุมลำตัวยาวเป็นเงาคล้ายเส้นใยแก้ว มีแถบดำบนลำตัว 2 แถบชัดเจน ปลายท้องมีหางคล้ายเส้นแป้ง 2 เส้น ยาวครึ่งหนึ่งของลำตัว พบการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง นอกจากนี้ยังพบการเข้าทำลายในพืชหลายชนิด เช่น มะละกอ น้อยหน่า และไม้ดอกบางชนิด เช่น ชบา เป็นต้น ที่ผ่านมาการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ยังไม่ถึงระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการควบคุมด้วยศัตรูธรรมชาติคือตัวห้ำและตัวเบียนอย่างสมดุล | เพลี้ยแป้งลาย (Striped mealybug; ''Ferrisia virgata'' Cockerell) มีลักษณะรูปร่างลำตัวคล้ายลิ่ม ผนังลำตัวสีเทา มีผงแป้งปกคลุมลำตัวยาวเป็นเงาคล้ายเส้นใยแก้ว มีแถบดำบนลำตัว 2 แถบชัดเจน ปลายท้องมีหางคล้ายเส้นแป้ง 2 เส้น ยาวครึ่งหนึ่งของลำตัว พบการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง นอกจากนี้ยังพบการเข้าทำลายในพืชหลายชนิด เช่น มะละกอ น้อยหน่า และไม้ดอกบางชนิด เช่น ชบา เป็นต้น ที่ผ่านมาการระบาดของเพลี้ยแป้งชนิดนี้ยังไม่ถึงระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ เนื่องจากมีการควบคุมด้วยศัตรูธรรมชาติคือตัวห้ำและตัวเบียนอย่างสมดุล(มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
== เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (เพลี้ยแป้งสีเทา) == | == เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (เพลี้ยแป้งสีเทา) == | ||
เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (Jack-beardsley mealybug; ''Pseudococcus'' ''jackbeardsleyi'' Gimpel & Miller) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเทาอมชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งเรียงกันจำนวนมาก เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว พบระบาดทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ชอบอยู่บริเวณโคนต้นหรือในดิน | เพลี้ยแป้งแจ๊คเบียดเลย์ (Jack-beardsley mealybug; ''Pseudococcus'' ''jackbeardsleyi'' Gimpel & Miller) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเทาอมชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งเรียงกันจำนวนมาก เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว พบระบาดทั่วไปในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง ชอบอยู่บริเวณโคนต้นหรือในดิน(มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
== เพลี้ยแป้งเขียว == | == เพลี้ยแป้งเขียว == | ||
เพลี้ยแป้งสีเขียว (Madeira mealybug; ''Phenococcus madeiresis'' Green) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเขียวอมเหลือง มีผงแป้งสีขาวปกคลุมบาง ๆ บนลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว และที่ลำตัวมีสันนูน 3 แนว ตามความยาวของลำตัว เส้นที่นูนที่สุดอยู่ตรงกลางลำตัว ถุงไข่ของเพลี้ยแป้งสีเขียวอยู่ส่วนหลังบนลำตัว อายุของตัวเต็มวัยขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ หากที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 30 วัน ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 46 วัน เพลี้ยแป้งสีเขียวชอบดูดกินอยู่บริเวณใบแก่ พบระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังบางพื้นที่ | เพลี้ยแป้งสีเขียว (Madeira mealybug; ''Phenococcus madeiresis'' Green) มีลักษณะลำตัวรูปไข่และค่อนข้างแบน ผนังลำตัวสีเขียวอมเหลือง มีผงแป้งสีขาวปกคลุมบาง ๆ บนลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องยาวกว่าเส้นแป้งข้างลำตัว และที่ลำตัวมีสันนูน 3 แนว ตามความยาวของลำตัว เส้นที่นูนที่สุดอยู่ตรงกลางลำตัว ถุงไข่ของเพลี้ยแป้งสีเขียวอยู่ส่วนหลังบนลำตัว อายุของตัวเต็มวัยขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ หากที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 30 วัน ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส จะมีอายุประมาณ 46 วัน เพลี้ยแป้งสีเขียวชอบดูดกินอยู่บริเวณใบแก่ พบระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังบางพื้นที่(มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
== เพลี้ยแป้งสีชมพู == | == เพลี้ยแป้งสีชมพู == | ||
เพลี้ยแป้งสีชมพู (Pink mealybug; ''Phenococcus manihoti'' Matile&Ferrero) มีลักษณะลำตัวรูปไข่ ผนังลำตัวสีชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้นหรือไม่ปรากฏให้เห็น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องค่อนข้างสั้น ขยายพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ วางไข่อยู่ในถุงไข่ อยู่เป็นกลุ่ม เพลี้ยแป้งชนิดนี้เป็นชนิดที่สร้างความเสียหายแก่มันสำปะหลังมากที่สุด พบระบาดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2516 ที่ประเทศคองโก มีการใช้แตนเบียนควบคุมโดยใช้เวลานานกว่า 10 ปี จึงสามารถควบคุมการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพูได้ สำหรับประเทศไทยเพลี้ยแป้งชนิดนี้เริ่มระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังเมื่อปี พ.ศ. 2551 และต่อมาได้สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังอย่างรุนแรง ทำให้เกิดความเสียหายในระดับเศรษฐกิจในทุกพื้นที่ที่มีการปลูกมันสำปะหลัง | เพลี้ยแป้งสีชมพู (Pink mealybug; ''Phenococcus manihoti'' Matile&Ferrero) มีลักษณะลำตัวรูปไข่ ผนังลำตัวสีชมพู มีผงแป้งสีขาวปกคลุมลำตัว ด้านข้างลำตัวมีเส้นแป้งสั้นหรือไม่ปรากฏให้เห็น เส้นแป้งที่ปลายส่วนท้องค่อนข้างสั้น ขยายพันธุ์โดยไม่อาศัยเพศ วางไข่อยู่ในถุงไข่ อยู่เป็นกลุ่ม เพลี้ยแป้งชนิดนี้เป็นชนิดที่สร้างความเสียหายแก่มันสำปะหลังมากที่สุด พบระบาดครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2516 ที่ประเทศคองโก มีการใช้แตนเบียนควบคุมโดยใช้เวลานานกว่า 10 ปี จึงสามารถควบคุมการระบาดของเพลี้ยแป้งสีชมพูได้ สำหรับประเทศไทยเพลี้ยแป้งชนิดนี้เริ่มระบาดในพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังเมื่อปี พ.ศ. 2551 และต่อมาได้สร้างความเสียหายต่อผลผลิตมันสำปะหลังอย่างรุนแรง ทำให้เกิดความเสียหายในระดับเศรษฐกิจในทุกพื้นที่ที่มีการปลูกมันสำปะหลัง(มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
== การประเมินการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง == | == การประเมินการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง == | ||
บรรทัดที่ 38: | บรรทัดที่ 38: | ||
|มากกว่า 100 | |มากกว่า 100 | ||
|} | |} | ||
การประเมินการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้งในแปลงมันสำปะหลังดังกล่าว จะทำให้สามารถป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ | การประเมินการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้งในแปลงมันสำปะหลังดังกล่าว จะทำให้สามารถป้องกันกำจัดเพลี้ยแป้งได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ(มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
== การป้องกันกำจัด == | == การป้องกันกำจัด == | ||
บรรทัดที่ 87: | บรรทัดที่ 87: | ||
การปล่อยตัวอ่อนแมลงช้างปีกใส ให้นำตัวอ่อนของแมลงช้างปีกใสที่เกาะอยู่บนกระดาษในกล่องเลี้ยงวางบริเวณต้นหรือยอดมันสำปะหลังที่พบการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดยปล่อยในช่วงเวลาตอนเย็น อัตรา 200-500 ตัวต่อไร่ (ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของจำนวนเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง) และควรปล่อยแมลงช้างปีกใสในระยะเริ่มพบกลุ่มไข่เพลี้ยแป้ง 2-3 กลุ่มไข่ต่อต้น งดการใช้สารกำจัดแมลง ซึ่งควรปล่อยแมลงช้างปีกใสอย่างต่อเนื่องจนไม่พบกลุ่มไข่เพลี้ยแป้ง | การปล่อยตัวอ่อนแมลงช้างปีกใส ให้นำตัวอ่อนของแมลงช้างปีกใสที่เกาะอยู่บนกระดาษในกล่องเลี้ยงวางบริเวณต้นหรือยอดมันสำปะหลังที่พบการเข้าทำลายของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง โดยปล่อยในช่วงเวลาตอนเย็น อัตรา 200-500 ตัวต่อไร่ (ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของจำนวนเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง) และควรปล่อยแมลงช้างปีกใสในระยะเริ่มพบกลุ่มไข่เพลี้ยแป้ง 2-3 กลุ่มไข่ต่อต้น งดการใช้สารกำจัดแมลง ซึ่งควรปล่อยแมลงช้างปีกใสอย่างต่อเนื่องจนไม่พบกลุ่มไข่เพลี้ยแป้ง | ||
'''แตนเบียนแตนเบียนอะนาไกรัส โลเปไซ''' (Anagyrus lopezi) เป็นแตนเบียนที่มีประโยชน์ช่วยควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู พฤติกรรมการเข้าทำลายของแตนเบียน มี 2 วิธี ได้แก่ 1) การห้ำ แตนเบียนเพศเมียใช้อวัยวะวางไข่แทงเข้าไปในลำตัวเพลี้ยแป้งเพื่อสร้างบาดแผลจากนั้นใช้ปากเลียกินของเหลวจากรอยแผลเพื่อนำโปรตีนจากของเหลวในลำตัวเพลี้ยแป้งไปใช้สร้างไข่ วิธีนี้จะทำให้เพลี้ยแป้งตายทันที 2) การเบียน แตนเบียนเพศเมียใช้อวัยวะวางไข่แทงเข้าไปในลำตัวเพลี้ยแป้งและวางไข่ภายใน หนอนแตนเบียนดูดกินของเหลวในลำตัวเพลี้ยแป้งเจริญเติบโตเข้าดักแด้อยู่ภายใน แตนเบียน 1 ตัว ฆ่าและทำลายเพลี้ยแป้งวันละ 20 - 30 ตัว และลงเบียนเพลี้ยแป้งได้วันละ 15 - 20 ตัว ลักษณะสำคัญที่ใช้จำแนกเพศของแตนเบียนชนิดนี้ คือส่วนหนวดแตนเบียนเพศผู้มีลักษณะยาวเรียวสีดำและมีขนเล็กที่ส่วนของปล้องหนวด เพศเมียมีหนวดปล้องแรกของเพศเมียมีลักษณะแบนและใหญ่กว่าหนวดปล้องอื่นและปล้องหนวดมีสีขาวสลับดำ (สุภราดา และคณะ, 2563) | '''แตนเบียนแตนเบียนอะนาไกรัส โลเปไซ''' (Anagyrus lopezi) เป็นแตนเบียนที่มีประโยชน์ช่วยควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลังสีชมพู พฤติกรรมการเข้าทำลายของแตนเบียน มี 2 วิธี ได้แก่ 1) การห้ำ แตนเบียนเพศเมียใช้อวัยวะวางไข่แทงเข้าไปในลำตัวเพลี้ยแป้งเพื่อสร้างบาดแผลจากนั้นใช้ปากเลียกินของเหลวจากรอยแผลเพื่อนำโปรตีนจากของเหลวในลำตัวเพลี้ยแป้งไปใช้สร้างไข่ วิธีนี้จะทำให้เพลี้ยแป้งตายทันที 2) การเบียน แตนเบียนเพศเมียใช้อวัยวะวางไข่แทงเข้าไปในลำตัวเพลี้ยแป้งและวางไข่ภายใน หนอนแตนเบียนดูดกินของเหลวในลำตัวเพลี้ยแป้งเจริญเติบโตเข้าดักแด้อยู่ภายใน แตนเบียน 1 ตัว ฆ่าและทำลายเพลี้ยแป้งวันละ 20 - 30 ตัว และลงเบียนเพลี้ยแป้งได้วันละ 15 - 20 ตัว ลักษณะสำคัญที่ใช้จำแนกเพศของแตนเบียนชนิดนี้ คือส่วนหนวดแตนเบียนเพศผู้มีลักษณะยาวเรียวสีดำและมีขนเล็กที่ส่วนของปล้องหนวด เพศเมียมีหนวดปล้องแรกของเพศเมียมีลักษณะแบนและใหญ่กว่าหนวดปล้องอื่นและปล้องหนวดมีสีขาวสลับดำ (สุภราดา และคณะ, 2563) | ||
'''การใช้แตนเบียนในการควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง''' เมื่อเริ่มพบการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง หรือการเข้าทำลายยังไม่มากให้ปล่อยแตนเบียนเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง อัตรา 50 คู่ต่อไร่ แต่หากพบการระบาดของเพลี้ยแป้งอย่างรุนแรง ให้เพิ่มอัตราการปล่อยแตนเบียนเป็น 200 คู่ต่อไร่ | '''การใช้แตนเบียนในการควบคุมเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง''' เมื่อเริ่มพบการระบาดของเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง หรือการเข้าทำลายยังไม่มากให้ปล่อยแตนเบียนเพลี้ยแป้งมันสำปะหลัง อัตรา 50 คู่ต่อไร่ แต่หากพบการระบาดของเพลี้ยแป้งอย่างรุนแรง ให้เพิ่มอัตราการปล่อยแตนเบียนเป็น 200 คู่ต่อไร่ (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556) | ||
== อ้างอิง == | |||
* |
การแก้ไข