80
การแก้ไข
บรรทัดที่ 3: | บรรทัดที่ 3: | ||
ธาตุไนโตรเจนเป็นธาตุที่ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต และสร้างโปรตีน หากได้รับมากจนเกินไป พืชจะมีอาการอ่อนแอ อวบน้ำ โรคและแมลงสามารถเข้าทำลายได้ง่าย ในขนะเดียวกันหากได้รับไนโตรเจนไม่เพียงพอส่งผลให้พืชมีลักษณะแคระแกรน ใบแก่จะมีสีเหลืองและร่วง (สุเทพ, ม.ป.พ.<ref name=":0">สุเทพ ทองแพ. ม.ป.พ. ดิน-ปุ๋ย-น้ำ. เอกสารประกอบการอบรมดิน-ปุ๋ย-น้ำ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ. | ธาตุไนโตรเจนเป็นธาตุที่ช่วยส่งเสริมการเจริญเติบโต และสร้างโปรตีน หากได้รับมากจนเกินไป พืชจะมีอาการอ่อนแอ อวบน้ำ โรคและแมลงสามารถเข้าทำลายได้ง่าย ในขนะเดียวกันหากได้รับไนโตรเจนไม่เพียงพอส่งผลให้พืชมีลักษณะแคระแกรน ใบแก่จะมีสีเหลืองและร่วง (สุเทพ, ม.ป.พ.<ref name=":0">สุเทพ ทองแพ. ม.ป.พ. ดิน-ปุ๋ย-น้ำ. เอกสารประกอบการอบรมดิน-ปุ๋ย-น้ำ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพ. | ||
108 พรรณไม้. 2021. พืชจะแสดงอาการอย่างไรเมื่อขาดธาตุ. ที่มา: <nowiki>https://www.panmai.com/Tip/Tip02/Tip02.shtml</nowiki>. วันที่ 20 พฤษภาคม 2564.</ref>) โดยในมันสำปะหลังที่ขาดไนโตรเจน อาจจะไม่แสดงอาการให้เห็น แต่ต้นจะเตี้ยและโตช้ากว่าปกติมันสำปะหลังบางพันธุ์ที่ขาดธาตุ N อย่างรุนแรงจะแสดงอาการใบสีซีดอ่อนลงเล็กน้อย อาการใบซีดค่อนข้างสม่ำเสมอทั่วไปทั้งต้นการขาด N ที่รุนแรงมักจะเกิดในดินทรายที่มีอินทรียวัตถุต่ำแต่ก็อาจจะพบในดินที่เป็นกรดมากๆ และมีอินทรียวัตถุสูงได้เช่นกัน ทั้งนี้ สาเหตุหลักเป็นเพราะว่าอัตราการสลายตัวของอินทรียวัตถุช้าซึ่งต่อไปจะเกิดขบวนการไนโตรเจนมินเนอรัลไลเซชั่น (N mineralization) | 108 พรรณไม้. 2021. พืชจะแสดงอาการอย่างไรเมื่อขาดธาตุ. ที่มา: <nowiki>https://www.panmai.com/Tip/Tip02/Tip02.shtml</nowiki>. วันที่ 20 พฤษภาคม 2564.</ref>) โดยในมันสำปะหลังที่ขาดไนโตรเจน อาจจะไม่แสดงอาการให้เห็น แต่ต้นจะเตี้ยและโตช้ากว่าปกติมันสำปะหลังบางพันธุ์ที่ขาดธาตุ N อย่างรุนแรงจะแสดงอาการใบสีซีดอ่อนลงเล็กน้อย อาการใบซีดค่อนข้างสม่ำเสมอทั่วไปทั้งต้นการขาด N ที่รุนแรงมักจะเกิดในดินทรายที่มีอินทรียวัตถุต่ำแต่ก็อาจจะพบในดินที่เป็นกรดมากๆ และมีอินทรียวัตถุสูงได้เช่นกัน ทั้งนี้ สาเหตุหลักเป็นเพราะว่าอัตราการสลายตัวของอินทรียวัตถุช้าซึ่งต่อไปจะเกิดขบวนการไนโตรเจนมินเนอรัลไลเซชั่น (N mineralization) | ||
== การขาดธาตุฟอสฟอรัส (P) == | == การขาดธาตุฟอสฟอรัส (P) == | ||
บรรทัดที่ 15: | บรรทัดที่ 15: | ||
[[ไฟล์:Image 23.png|thumb|แสดงอาการขาดธาตุโพแทสเซียมในมันสำปะหลัง (Susan, 2010)<ref>Susan John, K., G. Suja, M.N. Sheela, and C.S. Ravindran. 2010. Potassium: The Key Nutrient for Cassava Production, Tuber Quality and Soil Productivity - An Overview. Journal of Root Crops 36:132-144.</ref>]] | [[ไฟล์:Image 23.png|thumb|แสดงอาการขาดธาตุโพแทสเซียมในมันสำปะหลัง (Susan, 2010)<ref>Susan John, K., G. Suja, M.N. Sheela, and C.S. Ravindran. 2010. Potassium: The Key Nutrient for Cassava Production, Tuber Quality and Soil Productivity - An Overview. Journal of Root Crops 36:132-144.</ref>]] | ||
ธาตุโพแทสเซียมเป็นธาตุที่ช่วยในการสร้างและสะสมอาหาร (สร้างผล สร้างหัว) และทำให้พืชมีคุณภาพดี การขาดโพแทสเซียมจะทำให้ความสูงของต้นและความแข็งแรงลดลง ข้อปล้องจะสั้นลงอย่างเห็นได้ชัดลำต้นส่วนบนจะแข็งเป็นเนื้อไม้ทำให้ลำต้นโตแบบหักซิกแซก โดยทั่วไปลำต้นจะแน่นและแตกกิ่งก้านมากทำให้ทรงต้นแผ่กว้าง (วัลลีย์, 2551) <ref name=":1">วัลลีย์ อมรพล. 2551. เอกสารวิชาการ เรื่อง ธาตุอาหารพืช และการใช้ปุ๋ยกับมันสำปะหลังในภาคตะวันออก. กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพ.</ref>ในมันสำปะหลังมักจะไม่แสดงอาการขาดโพแทสเซียมที่ชัดเจน ในสภาพไร่มันสำปะหลังใบมักจะไม่แสดงอาการซีดหรือ สีเขียวอ่อน แต่ใบบนๆ จะเล็กและใบล่างๆ อาจจะเหลืองและขอบใบแห้ง แผลแห้งตายจากการขาดโพแทสเซียม จะเป็นช่องทางให้เชื้อโรคโดยเฉพาะโรคแอนแทรกโนสเข้าทำลายพืช ใบล่างๆ อาจจะมีอาการขอบใบม้วนขึ้นคล้ายกับการขาดน้ำในหน้าแล้ง โดยทั่วไป การขาดโพแทสเซียม จะเกิดขึ้นได้ในดินทรายที่มีปริมาณสำรองของโพแทสเซียมต่ำ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในแปลงที่ปลูกมันสำปะหลังติดต่อกันเป็นเวลาหลายปี | ธาตุโพแทสเซียมเป็นธาตุที่ช่วยในการสร้างและสะสมอาหาร (สร้างผล สร้างหัว) และทำให้พืชมีคุณภาพดี การขาดโพแทสเซียมจะทำให้ความสูงของต้นและความแข็งแรงลดลง ข้อปล้องจะสั้นลงอย่างเห็นได้ชัดลำต้นส่วนบนจะแข็งเป็นเนื้อไม้ทำให้ลำต้นโตแบบหักซิกแซก โดยทั่วไปลำต้นจะแน่นและแตกกิ่งก้านมากทำให้ทรงต้นแผ่กว้าง (วัลลีย์, 2551) <ref name=":1">วัลลีย์ อมรพล. 2551. เอกสารวิชาการ เรื่อง ธาตุอาหารพืช และการใช้ปุ๋ยกับมันสำปะหลังในภาคตะวันออก. กรมวิชาการเกษตร. กรุงเทพ.</ref>ในมันสำปะหลังมักจะไม่แสดงอาการขาดโพแทสเซียมที่ชัดเจน ในสภาพไร่มันสำปะหลังใบมักจะไม่แสดงอาการซีดหรือ สีเขียวอ่อน แต่ใบบนๆ จะเล็กและใบล่างๆ อาจจะเหลืองและขอบใบแห้ง แผลแห้งตายจากการขาดโพแทสเซียม จะเป็นช่องทางให้เชื้อโรคโดยเฉพาะโรคแอนแทรกโนสเข้าทำลายพืช ใบล่างๆ อาจจะมีอาการขอบใบม้วนขึ้นคล้ายกับการขาดน้ำในหน้าแล้ง โดยทั่วไป การขาดโพแทสเซียม จะเกิดขึ้นได้ในดินทรายที่มีปริมาณสำรองของโพแทสเซียมต่ำ และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในแปลงที่ปลูกมันสำปะหลังติดต่อกันเป็นเวลาหลายปี | ||
== การขาดธาตุแคลเซียม (Ca) == | == การขาดธาตุแคลเซียม (Ca) == |
การแก้ไข