100
การแก้ไข
บรรทัดที่ 7: | บรรทัดที่ 7: | ||
และการไถยกร่อง เป็นการจัดการพื้นที่ปลูกเพื่อให้สะดวกต่อการปลูกและช่วยระบายน้ำฝนเมื่อพื้นที่ปลูกมีฝนตกหนักเกินไป ควรยกร่องให้มีขนาดที่ไม่สูงหรือต่ำเกินไป ซึ่งขนาดที่เหมาะสดต่อการปลูกมันสำปะหลังที่สุดคือ ความสูงของร่องประมาณ 25-30 เซนติเมตร และความกว้างของฐานร่องประมาณ 90-100 เซนติเมตร และการยกร่องควรยกร่อนขวางทิศทางลาดชันจะทำให้ลดการกร่อนของดิน | และการไถยกร่อง เป็นการจัดการพื้นที่ปลูกเพื่อให้สะดวกต่อการปลูกและช่วยระบายน้ำฝนเมื่อพื้นที่ปลูกมีฝนตกหนักเกินไป ควรยกร่องให้มีขนาดที่ไม่สูงหรือต่ำเกินไป ซึ่งขนาดที่เหมาะสดต่อการปลูกมันสำปะหลังที่สุดคือ ความสูงของร่องประมาณ 25-30 เซนติเมตร และความกว้างของฐานร่องประมาณ 90-100 เซนติเมตร และการยกร่องควรยกร่อนขวางทิศทางลาดชันจะทำให้ลดการกร่อนของดิน | ||
* '''ฤดูปลายฝน''' การเตรียมดินสำหรับการปลูกมันสำปะหลังในช่วงปลายฤดูฝนควรไถทั้งหมด 2 ครั้ง ได้แก่ การการไถดะในครั้งที่ 1 ไถพรวนหรือไถแปรในครั้งที่ 2 การไถดะการเตรียมดินสำหรับปลูกมันสำปะหลังในช่วงปลายฤดูฝนจะใช้ผาล 3 ไถ ขณะที่ดินมีความชื้นเหมาะสม หากกินมีความชื้นมากเกินไปจะทำให้รถไม่สามารถเข้าไถให้พื้นที่ได้ การไถในรอบนี้จะเป็นการไถที่ช่วยเก็บกัดความชื้นไว้ในดินเพื่อรอการไถครั้งต่อไป ส่วนการไถพรวนหรือไถแปร ควรทำเมื่อพร้อมปลูกโดยปกติควรทำหลังการไถดะประมาณ 5-10 วัน หากเป็นดินร่วนทรายหรือดินทราย หลังจากการไถครั้งนี้สามารถปลูกได้เลยโดยปลูกแบบพื้นราบ ใช้วิธีขึงเชือกปลูก โดยไม่จำเป็นต้องยกร่องเพื่อประหยัดต้นทุนการเตรียมดิน |
การแก้ไข