71
การแก้ไข
บรรทัดที่ 35: | บรรทัดที่ 35: | ||
# ชนิดขม (Bitter Type) เป็นมันสำปะหลังที่มีกรดไฮโดรไซยานิคสูง เป็นพิษ และมีรสขม ไม่เหมาะสำหรับ การบริโภคของมนุษย์ หรือใช้หัวมันสำปะหลัง สดเลี้ยงสัตว์โดยตรง แต่จะใช้สำหรับอุตสาหกรรมแปรรูปต่างๆเช่น แป้งมัน มันอัดเม็ด และแอลกอฮอล์ เป็นต้น เนื่องจากมีปริมาณแป้งสูง มันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศ ไทยส่วนใหญ่เป็นชนิดขมสำหรับใช้ในอุตสาหกรรม<ref>มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2564. จาก https://www.tapiocathai.org/C.html</ref> | # ชนิดขม (Bitter Type) เป็นมันสำปะหลังที่มีกรดไฮโดรไซยานิคสูง เป็นพิษ และมีรสขม ไม่เหมาะสำหรับ การบริโภคของมนุษย์ หรือใช้หัวมันสำปะหลัง สดเลี้ยงสัตว์โดยตรง แต่จะใช้สำหรับอุตสาหกรรมแปรรูปต่างๆเช่น แป้งมัน มันอัดเม็ด และแอลกอฮอล์ เป็นต้น เนื่องจากมีปริมาณแป้งสูง มันสำปะหลังที่ปลูกในประเทศ ไทยส่วนใหญ่เป็นชนิดขมสำหรับใช้ในอุตสาหกรรม<ref>มูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี. สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2564. จาก https://www.tapiocathai.org/C.html</ref> | ||
มันสำปะหลังสามารถปลูกได้หลายพื้นที่ของประเทศไทย ที่มีความแตกต่างกันทั้งในด้านสภาพแวดล้อมและสภาพอากาศ อย่างไรก็ดีมันสำปะหลังแต่ละพันธุ์สามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้ดีในพื้นที่ที่แตกต่างกัน ดังนั้นการเลือกพันธุ์ที่เหมาะสมต่อพื้นที่ปลูกจะช่วยเพิ่มโอกาสในการได้ผลผลิตเต็มศักยภาพของพันธุ์ ปัญหาที่สำคัญในการเลือกพันธุ์มันสำปะหลัง คือ ไม่สามารถจำแนกพันธุ์มันสำปะหลังที่จะใช้ปลูกได้ เนื่องจากไม่ทราบลักษณะเด่นประจำพันธุ์ ส่งผลให้ไม่ได้ผลผลิตตามที่คาดการณ์และทำให้ไม่สามารถเลือกขยายพันธุ์มันสำปะหลังได้ตามจำนวนที่ต้องการ หน่วยงานที่มีการพัฒนาพันธุ์มันสำปะหลัง เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกรมวิชาการเกษตร ได้จำแนกพันธุ์มันสำปะหลังในประเทศไทย โดยเฉพาะพันธุ์การค้าตามลักษณะเด่นของแต่ละพันธุ์<ref> | มันสำปะหลังสามารถปลูกได้หลายพื้นที่ของประเทศไทย ที่มีความแตกต่างกันทั้งในด้านสภาพแวดล้อมและสภาพอากาศ อย่างไรก็ดีมันสำปะหลังแต่ละพันธุ์สามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตได้ดีในพื้นที่ที่แตกต่างกัน ดังนั้นการเลือกพันธุ์ที่เหมาะสมต่อพื้นที่ปลูกจะช่วยเพิ่มโอกาสในการได้ผลผลิตเต็มศักยภาพของพันธุ์ ปัญหาที่สำคัญในการเลือกพันธุ์มันสำปะหลัง คือ ไม่สามารถจำแนกพันธุ์มันสำปะหลังที่จะใช้ปลูกได้ เนื่องจากไม่ทราบลักษณะเด่นประจำพันธุ์ ส่งผลให้ไม่ได้ผลผลิตตามที่คาดการณ์และทำให้ไม่สามารถเลือกขยายพันธุ์มันสำปะหลังได้ตามจำนวนที่ต้องการ หน่วยงานที่มีการพัฒนาพันธุ์มันสำปะหลัง เช่น มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และกรมวิชาการเกษตร ได้จำแนกพันธุ์มันสำปะหลังในประเทศไทย โดยเฉพาะพันธุ์การค้าตามลักษณะเด่นของแต่ละพันธุ์<ref>กรมส่งเสริมการเกษตร. 2558. คู่มือการจำแนกพันธุ์มันสำปะหลัง. บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จำกัด</ref> | ||
== ลักษณะเด่นที่ใช้จำแนกพันธุ์ == | == ลักษณะเด่นที่ใช้จำแนกพันธุ์ == |
การแก้ไข