ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การทำแปลงขยายพันธุ์"

ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
บรรทัดที่ 22: บรรทัดที่ 22:


=== '''การปลูกด้วยท่อนพันธุ์''' ===
=== '''การปลูกด้วยท่อนพันธุ์''' ===
ปลูกมันสำปะหลังด้วยท่อนพันธุ์ที่มีความยาวประมาณ 20 – 25 เซนติเมตร ระยะปลูก ระยะปลูกมันสำปะหลังสามารถปลูกได้ตั้งแต่ระยะ 60 X 60 เซนติเมตร จนถึง 120 X 120 เซนติเมตร โดยระยะ                  100 X 100 เซนติเมตร จะมีแนวโน้มให้ผลผลิตสูงกว่าระยะอื่นๆ แต่ถ้าหากเกษตรกรมีการใช้เครื่องทุ่นแรงระยะปลูกระหว่างแถว X ต้น อาจใช้ 120 X 80 เซนติเมตร เพื่อสะดวกในการใช้เครื่องทุ่นแรง                วิธีการปลูกมันสำปะหลังของเกษตรกรมี 2 วิธี คือ
ปลูกมันสำปะหลังด้วยท่อนพันธุ์ที่มีความยาวประมาณ 20 – 25 เซนติเมตร ระยะปลูก ระยะปลูกมันสำปะหลังสามารถปลูกได้ตั้งแต่ระยะ 60 X 60 เซนติเมตร จนถึง 120 X 120 เซนติเมตร โดยระยะ                  100 X 100 เซนติเมตร จะมีแนวโน้มให้ผลผลิตสูงกว่าระยะอื่นๆ แต่ถ้าหากเกษตรกรมีการใช้เครื่องทุ่นแรงระยะปลูกระหว่างแถว X ต้น อาจใช้ 120 X 80 เซนติเมตร เพื่อสะดวกในการใช้เครื่องทุ่นแรง                วิธีการปลูกมันสำปะหลังของเกษตรกรมี ดังนี้ คือ


1. การปลูกแบบนอน (ปัจจุบันปลูกกันน้อยมาก)
* '''การปลูกแบบนอน''' (ปัจจุบันไม่นิยมปลูกด้วยวิธีนี้) เป็นวิธีการปลูกแบบเก่า เพราะต้นมันสำปะหลังจะงอกโผล่พ้นดินช้ากว่าวัชพืช ทำให้การกำจัดวัชพืชลำบากมากขึ้น แต่มีข้อดี คือ ถ้าดินมีความชื้นน้อยการปลูกด้วยวิธีนี้จะทำให้มีจำนวนต้นอยู่รอดมาก และไม่ต้องระวังว่าจะปลูกโดยเอายอดลงดินซึ่งจะทำให้ตาไม่งอก
* '''การปลูกแบบปัก''' การปลูกแบบปักจะให้ผลดีกว่าการปลูกแนวนอน เนื่องจากมันสำปะหลังงอกได้เร็วกว่า สม่ำเสมอกว่า สะดวกต่อการปลูกซ่อม และกำจัดวัชพืช ในฤดูฝน ถ้าพื้นที่แฉะควรยกร่องและปลูกบนสันร่อง ถ้าดินระบายน้ำดีปลูกบนพื้นที่ราบก็ได้ การปักท่อนพันธุ์ตั้งตรงหรือเอียงให้ลึกประมาณ 10 – 15 เซนติเมตร สำหรับการปลูกในฤดูแล้งไม่จำเป็นต้องยกร่องแต่ควรปักตั้งตรงหรือเอียง ให้ลึกกว่าการปลูกในฤดูฝน 10 – 15 เซนติเมตร จะช่วยให้ท่อนพันธุ์มีความงอกและมีความอยู่รอดสูง ส่วนการปลูกในพื้นที่ที่มีความเอียง ควรปลูกโดยการยกร่องขวางแนวลาดเอียง  


2. การปลูกแบบปัก
สำหรับมันสำปะหลังพันธุ์ที่ไม่แตกกิ่งอาจเพิ่มจำนวนท่อนพันธุ์ต่อไร่โดยการตัดยอดระดับที่ตัดวัดจากยอดลงมาประมาณ 20 – 30 เซนติเมตร เมื่อต้นมันสำปะหลังอายุประมาณ 2 – 3 เดือน จะทำให้ต้นพันธุ์เพิ่มขึ้นจากปกติประมาณ 1 เท่าตัว ตัวอย่างเช่น ต้นมันสำปะหลังเดิมที่ปลูกมีจำนวนลำต้นต่อหลุม 2 ลำ หลังจากตัดยอดทั้ง 2 ลำจะมีการแตกยอดใหม่ได้จำนวนลำต้นประมาณ 4 – 5 ลำต่อหลุม                '''ดังภาพที่ 1'''


การปลูกแบบปักจะให้ผลดีกว่าการปลูกแนวนอน เนื่องจากมันสำปะหลังงอกได้เร็วกว่า สม่ำเสมอกว่า สะดวกต่อการปลูกซ่อม และกำจัดวัชพืช ในฤดูฝน ถ้าพื้นที่แฉะควรยกร่องและปลูกบนสันร่อง ถ้าดินระบายน้ำดีปลูกบนพื้นที่ราบก็ได้ การปักท่อนพันธุ์ตั้งตรงหรือเอียงให้ลึกประมาณ 10 – 15 เซนติเมตร สำหรับการปลูกในฤดูแล้งไม่จำเป็นต้องยกร่องแต่ควรปักตั้งตรงหรือเอียง ให้ลึกกว่าการปลูกในฤดูฝน 10 – 15 เซนติเมตร จะช่วยให้ท่อนพันธุ์มีความงอกและมีความอยู่รอดสูง ส่วนการปลูกในพื้นที่ที่มีความเอียง ควรปลูกโดยการยกร่องขวางแนวลาดเอียง  
สำหรับมันสำปะหลังพันธุ์ที่ไม่แตกกิ่งอาจเพิ่มจำนวนท่อนพันธุ์ต่อไร่โดยการตัดยอดระดับที่ตัดวัดจากยอดลงมาประมาณ 20 – 30 เซนติเมตร เมื่อต้นมันสำปะหลังอายุประมาณ 2 – 3 เดือน จะทำให้ต้นพันธุ์เพิ่มขึ้นจากปกติประมาณ 1 เท่าตัว ตัวอย่างเช่น ต้นมันสำปะหลังเดิมที่ปลูกมีจำนวนลำต้นต่อหลุม 2 ลำ หลังจากตัดยอดทั้ง 2 ลำจะมีการแตกยอดใหม่ได้จำนวนลำต้นประมาณ 4 – 5 ลำต่อหลุม                '''ดังภาพที่ 1'''
[[ไฟล์:Image s6.png|center|thumb|352x352px|'''ภาพที่ 1''' แสดงการตัดยอดต้นพันธุ์เมื่ออายุ 2 เดือนเพื่อให้แตกลำเพิ่ม]]
[[ไฟล์:Image s6.png|center|thumb|352x352px|'''ภาพที่ 1''' แสดงการตัดยอดต้นพันธุ์เมื่ออายุ 2 เดือนเพื่อให้แตกลำเพิ่ม]]


== '''การทำแปลงขยายต้นพันธุ์แบบเร่งรัด''' ==
== '''การทำแปลงขยายต้นพันธุ์แบบเร่งรัด''' ==
วิธีการขยายพันธุ์แบบเร่งรัด เป็นการตัดท่อนพันธุ์สั้นกว่าปกติหรือตัดต้นอ่อนไปปลูกโดยไม่ต้องรอให้มันสำปะหลังอายุครบ 8 – 12 เดือนตามวิธีการปกติ เพื่อให้ได้ปริมาณท่อนพันธุ์จำนวนมากภายในเวลาอันสั้น สามารถปฏิบัติได้หลายวิธี ดังนี้
71

การแก้ไข

รายการนำทางไซต์