80
การแก้ไข
(สร้างหน้าด้วย "เชื้อสาเหตุเกิดจากเชื้อรา ''Phoma eupyrena'' มีการเริ่มระบาดในปี...") |
|||
บรรทัดที่ 2: | บรรทัดที่ 2: | ||
== ลักษณะอาการ == | == ลักษณะอาการ == | ||
[[ไฟล์:Image9.png|thumb|ลักษณะอาการของโรคลำต้นไหม้บริเวณลำต้นของมันสำปะหลัง]] | |||
เชื้อรามีการเข้าทำลายตรงรอยตัดส่วนบนของท่อนพันธุ์ ทำให้ยอดด้านบนแห้งตาย และเชื้อลามลงมาสู่โคนต้น บริเวณเปลือกลำต้นจะมีรอยปริแตก เป็นกลุ่มสปอร์เป็นเม็ดกลมสีดำปรากฏอยู่จำนวนมาก เมื่อยอดถูกทำลายจะทำให้มันสำปะหลังแตกตาข้างมากกว่าปกติ หากอาการรุนแรงต้นกล้าจะแสดงอาการใบเหลือง แห้ง ร่วง และยืนต้นตายในที่สุด | เชื้อรามีการเข้าทำลายตรงรอยตัดส่วนบนของท่อนพันธุ์ ทำให้ยอดด้านบนแห้งตาย และเชื้อลามลงมาสู่โคนต้น บริเวณเปลือกลำต้นจะมีรอยปริแตก เป็นกลุ่มสปอร์เป็นเม็ดกลมสีดำปรากฏอยู่จำนวนมาก เมื่อยอดถูกทำลายจะทำให้มันสำปะหลังแตกตาข้างมากกว่าปกติ หากอาการรุนแรงต้นกล้าจะแสดงอาการใบเหลือง แห้ง ร่วง และยืนต้นตายในที่สุด | ||
บรรทัดที่ 32: | บรรทัดที่ 33: | ||
|10 ซีซี | |10 ซีซี | ||
|} | |} | ||
หากไม่ทำการแช่ท่อนพันธุ์ และพบว่ามีการแพร่ระบาดรุนแรงในระยะ 1-2 เดือนหลังปลูก ควรพ่นสารกำจัดโรคดังตารางที่ 1 ให้ทั่วทั้งต้น (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559) | หากไม่ทำการแช่ท่อนพันธุ์ และพบว่ามีการแพร่ระบาดรุนแรงในระยะ 1-2 เดือนหลังปลูก ควรพ่นสารกำจัดโรคดังตารางที่ 1 ให้ทั่วทั้งต้น (สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช, 2559)<ref>สำนักงานวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช. 2559. คู่มือการจัดการ ปัญหาศัตรูมันสำปะหลังแบบผสมผสาน. การันตี, กรุงเทพฯ.</ref> | ||
[[หมวดหมู่:โรค]] | [[หมวดหมู่:โรค]] |
การแก้ไข