ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคใบด่างมันสำปะหลัง"

ไปยังการนำทาง ไปยังการค้นหา
ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
บรรทัดที่ 30: บรรทัดที่ 30:
1.  ใช้พันธุ์ทนทานโรคใบด่างมันสำปะหลังเช่น เกษตรศาสตร์ 50 หรือ ระยอง 72 เป็นต้น
1.  ใช้พันธุ์ทนทานโรคใบด่างมันสำปะหลังเช่น เกษตรศาสตร์ 50 หรือ ระยอง 72 เป็นต้น


2.  ใช้พันธุ์ปลอดโรคโดยไม่ใช้ท่อนพันธุ์จากแหล่งที่พบการระบาดของโรค หรือแหล่งที่พบอาการของโรค หรือท่อนพันธุ์ที่ไม่ทราบแหล่งที่มา หรือท่อนพันธุ์ที่ปนเปื้อนเชื้อไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง หรือใช้ท่อพันธุ์ที่สะอาดและปลอดโรคปลูกในพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาด จะช่วยลดอัตราการเกิดโรคได้ (วันวิสา และคณะ 2563)
2.  ใช้พันธุ์ปลอดโรคโดยไม่ใช้ท่อนพันธุ์จากแหล่งที่พบการระบาดของโรค หรือแหล่งที่พบอาการของโรค หรือท่อนพันธุ์ที่ไม่ทราบแหล่งที่มา หรือท่อนพันธุ์ที่ปนเปื้อนเชื้อไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง หรือใช้ท่อพันธุ์ที่สะอาดและปลอดโรคปลูกในพื้นที่ที่มีการแพร่ระบาด จะช่วยลดอัตราการเกิดโรคได้ (วันวิสา และคณะ 2563<ref>วันวิสา ศิริวรรณ์, นวลนภา เหมเนียม, จุฑาทิพย์ ถวิลอำพันธ์, สุกัญญา ฤกษ์วรรณ, กิ่งกาญจน์ เสาร์คำ, ศิริกาญจน์ หรรษาวัฒนกุล, ปภาวี พลีพรหม และ เฉลิมพล ภูมิไชย์.  2563.  การศึกษาอัตราการเกิดโรคใบด่างมันสำปะหลังในท่อนพันธุ์สะอาด. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร, 51(2): 181–19.</ref>)


3.  สำรวจแปลงมันสำปะหลังอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง
3.  สำรวจแปลงมันสำปะหลังอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง
บรรทัดที่ 51: บรรทัดที่ 51:




4.3 เฝ้าระวังการระบาด ของไวรัส ใบด่างในพืชอาศัยอื่นๆ ที่มีแมลงหวี่ขาวยาสูบเป็นพาหะ โดยหลีกเลี่ยงการปลูกพืชอาศัยของแมลงหวี่ขาวยาสูบ เช่น โหระพา กะเพรา ผักชีฝรั่ง พริก มะเขือ มันฝรั่ง และพืชตระกูลถั่ว และพืชอาศัยของเชื้อไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง เช่น สบู่ดำ ละหุ่ง บริเวณแปลงปลูกมันสำปะหลัง (ปิยะ และคณะ 2562 )
4.3 เฝ้าระวังการระบาด ของไวรัส ใบด่างในพืชอาศัยอื่นๆ ที่มีแมลงหวี่ขาวยาสูบเป็นพาหะ โดยหลีกเลี่ยงการปลูกพืชอาศัยของแมลงหวี่ขาวยาสูบ เช่น โหระพา กะเพรา ผักชีฝรั่ง พริก มะเขือ มันฝรั่ง และพืชตระกูลถั่ว และพืชอาศัยของเชื้อไวรัสใบด่างมันสำปะหลัง เช่น สบู่ดำ ละหุ่ง บริเวณแปลงปลูกมันสำปะหลัง (ปิยะ และคณะ 2562<ref>ปิยะ กิตติภาดากุล, อัญชนา ท่านเจริญ, วันวิสา ศิริวรรณ์ และ สมบุญ ภาณุวัฒน์สุข.  2562.  ไทยอาจต้องเลิกปลูกมันสำปะหลังหากไม่สามารถหยุดโรคใบด่างมันสำปะหลังได้ (ตอนที่ 1). เคหการเกษตร. 43(7): 171-174.</ref> )


== วิธีการผลิตท่อนพันธุ์สะอาด ==
== วิธีการผลิตท่อนพันธุ์สะอาด ==
บรรทัดที่ 92: บรรทัดที่ 92:
o  ไดโนทีฟูเรน 10%WG อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร
o  ไดโนทีฟูเรน 10%WG อัตรา 40 กรัมต่อน้ำ 20 ลิตร


บนต้นมันสำปะหลังในแปลงที่พบใบด่างและแปลงข้างเคียง (พรศักดิ์, 2562)
บนต้นมันสำปะหลังในแปลงที่พบใบด่างและแปลงข้างเคียง (พรศักดิ์, 2562<ref>พรศักดิ์ เอี่ยมนาคะ.  2562.  การผลิตต้นพันธุ์ปลอดโรค. ในการฝึกอบรมวิทยากรถ่ายทอดข้อมูลโรคใบด่างมันสำปะหลัง และเปิดโครงการขยายพันธุ์แบบเร่งรัด X20 และ X80 โดยมูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย. วันที่ 13 ธันวาคม 2562 สถาบันพัฒนามันสำปะหลัง. นครราชสีมา.</ref>)


== การผลิตท่อนพันธุ์สะอาดด้วยวิธีเร่งรัด X20 และ X80 ==
== การผลิตท่อนพันธุ์สะอาดด้วยวิธีเร่งรัด X20 และ X80 ==
บรรทัดที่ 101: บรรทัดที่ 101:


=== -       การผลิตท่อนพันธุ์แบบเร่งรัด X80 ===
=== -       การผลิตท่อนพันธุ์แบบเร่งรัด X80 ===
ตัดท่อนพันธุ์มันสำปะหลังขนาดประมาณ 5-6 เซนติเมตร โดยใช้ใบมีดตัดที่คมเพื่อไม่ให้ท่อนที่ได้มีลักษณะฉีกขาด ส่งผลต่ออัตราการเกิดราก แช่ท่อนพันธุ์ จากนั้นย้ายปลูกลงในวัสดุปลูก ส่วนผสมดังนี้ ขลุ่ยมะพร้าว แกลบดิบ พีทมอส ลงในถาดเพาะปลูก ทำการเพาะเลี้ยงในโรงเรือน รดน้ำเป็นระยะเวลา 1 เดือน ตัดส่วนยอดให้เหลือ 1 ตา นำยอดไปปลูกในถาดเพาะชำ จากนั้นตัดต้นแม่ในข้อต่อไปในเดือนต่อไปทำซ้ำได้ประมาณเพิ่มขึ้น นำออกจากโรงเรือนไปปรับสภาพแวดล้อมเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์  ย้ายลงปลูกในแปลงแบบน้ำหยด (วิจารณ์, 2562)
ตัดท่อนพันธุ์มันสำปะหลังขนาดประมาณ 5-6 เซนติเมตร โดยใช้ใบมีดตัดที่คมเพื่อไม่ให้ท่อนที่ได้มีลักษณะฉีกขาด ส่งผลต่ออัตราการเกิดราก แช่ท่อนพันธุ์ จากนั้นย้ายปลูกลงในวัสดุปลูก ส่วนผสมดังนี้ ขลุ่ยมะพร้าว แกลบดิบ พีทมอส ลงในถาดเพาะปลูก ทำการเพาะเลี้ยงในโรงเรือน รดน้ำเป็นระยะเวลา 1 เดือน ตัดส่วนยอดให้เหลือ 1 ตา นำยอดไปปลูกในถาดเพาะชำ จากนั้นตัดต้นแม่ในข้อต่อไปในเดือนต่อไปทำซ้ำได้ประมาณเพิ่มขึ้น นำออกจากโรงเรือนไปปรับสภาพแวดล้อมเป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์  ย้ายลงปลูกในแปลงแบบน้ำหยด (วิจารณ์, 2562<ref>วิจารณ์ วิชชุกิจ.  2562.  การผลิตต้นพันธุ์ปลอดโรค. ในการฝึกอบรมวิทยากรถ่ายทอดข้อมูลโรคใบด่างมันสำปะหลัง และเปิดโครงการขยายพันธุ์แบบเร่งรัด X20 และ X80 โดยมูลนิธิสถาบันพัฒนามันสำปะหลังแห่งประเทศไทย. วันที่ 13 ธันวาคม 2562 สถาบันพัฒนามันสำปะหลัง. นครราชสีมา.</ref>)


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==

รายการนำทางไซต์