132
การแก้ไข
บรรทัดที่ 1: | บรรทัดที่ 1: | ||
ประเทศไทยมีการปลูกมันสำปะหลังเป็นจำนวนมากถึง 25.57 ล้านตัน ในปี 2520-2551<ref>สำนักงานเศษฐกิจการเกษตร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2551ก.สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2550.</ref> และมีแนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้นทุก ๆ ปี โดยในปี 2563 พบว่าประเทศไทยมีเนื้อที่เพาะปลูกรวมทั้งประเทศ 9.44 ล้านไร่ เนื้อที่เก็บเกี่ยว 8.92 ล้านไร่ ผลผลิต 28.10 ล้านตัน<ref>สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สืบค้น 10 พ.ค. 2563. <nowiki>http://www.oae.go.th</nowiki>.</ref> มีการส่งออกในรูปแบบต่าง ๆ และนำมาแปรรูปในอุตสาหกรรมแป้งและอาหารสัตว์ อีกทั้งนี้ยังนำมารับประทานในรูปของอาหารชนิดต่าง ๆ มันสำปะหลังเป็นพืชที่สามารถนำทุกส่วนมาใช้ประโยชน์ได้ ตั้งแต่ใบ ลำต้น ตลอดจนส่วนของราก อย่างไรก็ตามการใช้ประโยชน์มันสำปะหลังภายในประเทศส่วนใหญ่ยังจำกัดอยู่เพียงอุตสาหรรมแป้งและอาหารสัตว์ ส่วนที่นำมารับประทานก็เพียงเป็นอาหารว่าง ประเภทขนมหวานเพียงเล็กน้อยเท่านั้น แต่แท้จริงแล้วมันสำปะหลังถูกนำไปใช้เป็นอาหารหลักของมนุษย์มาเป็นเวลานานมาแล้ว โดยเฉพาะประเทศทางแถบทวีปแอฟริกา และอเมริกาใต้ ตลอดจนบางประเทศในทวีปเอเชีย ดังนั้นการใช้ประโยชน์ของมันสำปะหลังจึงมีมากมายดังต่อไปนี้<ref>สำนักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน. ม.ป.ป.. มันสำปะหลัง.เอกสารวิชาการฉบับที่ 1001- Do 46.01. กรมพัฒนาที่ดิน. กรุงเทพฯ.: 97 หน้า'''.'''</ref> | ประเทศไทยมีการปลูกมันสำปะหลังเป็นจำนวนมากถึง 25.57 ล้านตัน ในปี 2520-2551<ref name=":0">สำนักงานเศษฐกิจการเกษตร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2551ก.สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2550.</ref> และมีแนวโน้มที่เพิ่มสูงขึ้นทุก ๆ ปี โดยในปี 2563 พบว่าประเทศไทยมีเนื้อที่เพาะปลูกรวมทั้งประเทศ 9.44 ล้านไร่ เนื้อที่เก็บเกี่ยว 8.92 ล้านไร่ ผลผลิต 28.10 ล้านตัน<ref>สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. สืบค้น 10 พ.ค. 2563. <nowiki>http://www.oae.go.th</nowiki>.</ref> มีการส่งออกในรูปแบบต่าง ๆ และนำมาแปรรูปในอุตสาหกรรมแป้งและอาหารสัตว์ อีกทั้งนี้ยังนำมารับประทานในรูปของอาหารชนิดต่าง ๆ มันสำปะหลังเป็นพืชที่สามารถนำทุกส่วนมาใช้ประโยชน์ได้ ตั้งแต่ใบ ลำต้น ตลอดจนส่วนของราก อย่างไรก็ตามการใช้ประโยชน์มันสำปะหลังภายในประเทศส่วนใหญ่ยังจำกัดอยู่เพียงอุตสาหรรมแป้งและอาหารสัตว์ ส่วนที่นำมารับประทานก็เพียงเป็นอาหารว่าง ประเภทขนมหวานเพียงเล็กน้อยเท่านั้น แต่แท้จริงแล้วมันสำปะหลังถูกนำไปใช้เป็นอาหารหลักของมนุษย์มาเป็นเวลานานมาแล้ว โดยเฉพาะประเทศทางแถบทวีปแอฟริกา และอเมริกาใต้ ตลอดจนบางประเทศในทวีปเอเชีย ดังนั้นการใช้ประโยชน์ของมันสำปะหลังจึงมีมากมายดังต่อไปนี้<ref name=":1">สำนักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน. ม.ป.ป.. มันสำปะหลัง.เอกสารวิชาการฉบับที่ 1001- Do 46.01. กรมพัฒนาที่ดิน. กรุงเทพฯ.: 97 หน้า'''.'''</ref> | ||
---- | ---- | ||
บรรทัดที่ 319: | บรรทัดที่ 319: | ||
==ผลิตภัณฑ์จากมันสำปะหลัง== | ==ผลิตภัณฑ์จากมันสำปะหลัง== | ||
ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังหลักในประเทศไทย ประกอบไปด้วย มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลังทั้งในรูปของแป้งดิบและแป้งดัดแปร และเอทอนอล ซึ่งทั้งหมดมีการนำไปใช้เป็นวัถตุดิบต่อเนื่องในหลายอุตสาหกรรม ตลาดส่งออกหลักของผลิตภัณฑ์มันเส้น คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งนำเข้ามันเส้นจากไทยมากกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณทั้งหมดที่ส่งออก ส่วนผลิตภัณฑ์มันอัดเม็ดส่วนใหญ่จำหน่ายให้แก่โรงงานอาหารสัตว์หรือผู้ส่งออก โดยมีตลาดหลักคือ สหภาพยุโรป สำหรับแป้งมันสำปะหลังมีการจำหน่ายทั้งภายในและต่างประเทศ ตลาดส่งออกแป้งมันสำปะหลังหลักของไทย ได้แก่ ญี่ปุ่น ไต้หวัน จีน และอินโดนีเซีย<ref>ปรารถนา ปรารถนาดี, จิรชัย พุทธกุลสมศิริ, เจริญชัย โขมพัตราภรณ์ และชุมพร มณฑาทิพย์กลุ. 2552. การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ของผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังในประเทศไทย. รายงานวิจัย. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 318 หน้า.</ref> ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังมากเป็นอับดับหนึ่งของโลก<ref>Food and Agricultural Organization of the United Nations [FAO]. 2009. FAOSTAT. <nowiki>http://faostat.fao.org</nowiki>.</ref> ในปีเพาะปลูก 2550-2551 ประเทศไทยมีปริมาณผลผลิตมันสำปะหลังสูงถึง 25.57 ล้านตัน<ref | ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังหลักในประเทศไทย ประกอบไปด้วย มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลังทั้งในรูปของแป้งดิบและแป้งดัดแปร และเอทอนอล ซึ่งทั้งหมดมีการนำไปใช้เป็นวัถตุดิบต่อเนื่องในหลายอุตสาหกรรม ตลาดส่งออกหลักของผลิตภัณฑ์มันเส้น คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งนำเข้ามันเส้นจากไทยมากกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณทั้งหมดที่ส่งออก ส่วนผลิตภัณฑ์มันอัดเม็ดส่วนใหญ่จำหน่ายให้แก่โรงงานอาหารสัตว์หรือผู้ส่งออก โดยมีตลาดหลักคือ สหภาพยุโรป สำหรับแป้งมันสำปะหลังมีการจำหน่ายทั้งภายในและต่างประเทศ ตลาดส่งออกแป้งมันสำปะหลังหลักของไทย ได้แก่ ญี่ปุ่น ไต้หวัน จีน และอินโดนีเซีย<ref name=":2">ปรารถนา ปรารถนาดี, จิรชัย พุทธกุลสมศิริ, เจริญชัย โขมพัตราภรณ์ และชุมพร มณฑาทิพย์กลุ. 2552. การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ของผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังในประเทศไทย. รายงานวิจัย. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 318 หน้า.</ref> ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังมากเป็นอับดับหนึ่งของโลก<ref>Food and Agricultural Organization of the United Nations [FAO]. 2009. FAOSTAT. <nowiki>http://faostat.fao.org</nowiki>.</ref> ในปีเพาะปลูก 2550-2551 ประเทศไทยมีปริมาณผลผลิตมันสำปะหลังสูงถึง 25.57 ล้านตัน<ref name=":0" /> ซึ่งปริมาณผลผลิตมันสำปะหลังยังมีแนวโนมจะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากความต้องการมันสำปะหลังเพื่อใช้ในประเทศและเพื่อส่งออกยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง<ref name=":2" /> | ||
เนื่องจากหัวสำปะหลังมันสดไม่สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน เน่าเสียหายได้ง่าย จึงมักจะมีการแปรรูปเพื่อให้สามารถเก็บไว้บริโภคได้นานวัน มักนำไปหมักก่อนแล้วจึงนำไปปรุงเป็นอาหาร เช่น นึ่ง ทอด ย่าง หรือ นำหัวสดไปบดใส่ถุงทับให้แห้งทิ้งไว้ 4 วัน ระหว่างนั้นจะเกิดการหมัก จากนั้นจึงนำไปทอด หรือ นำไปแช่ในน้ำไหลหลาย ๆ วัน แล้วนำไปนึ่งเพื่อเป็นอาหาร นอกจากใช้เป็นอาหารหลักแล้ว ยังทำอาหารได้หลายรูปแบบ เช่น ทำเป็นแป้งมันเพื่อนำไปประกอบอาหาร หัวสดยังนำมาเป็นมันทอดได้โดยปอกเปลือกแล้วฝานเป็นแผ่นบาง ๆ ก่อนนำไปทอด คนไทยนิยมนำมาเชื่อมและย่าง ทำเป็นขนมมันนึ่งมะพร้าวและน้ำตาล<ref | เนื่องจากหัวสำปะหลังมันสดไม่สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน เน่าเสียหายได้ง่าย จึงมักจะมีการแปรรูปเพื่อให้สามารถเก็บไว้บริโภคได้นานวัน มักนำไปหมักก่อนแล้วจึงนำไปปรุงเป็นอาหาร เช่น นึ่ง ทอด ย่าง หรือ นำหัวสดไปบดใส่ถุงทับให้แห้งทิ้งไว้ 4 วัน ระหว่างนั้นจะเกิดการหมัก จากนั้นจึงนำไปทอด หรือ นำไปแช่ในน้ำไหลหลาย ๆ วัน แล้วนำไปนึ่งเพื่อเป็นอาหาร นอกจากใช้เป็นอาหารหลักแล้ว ยังทำอาหารได้หลายรูปแบบ เช่น ทำเป็นแป้งมันเพื่อนำไปประกอบอาหาร หัวสดยังนำมาเป็นมันทอดได้โดยปอกเปลือกแล้วฝานเป็นแผ่นบาง ๆ ก่อนนำไปทอด คนไทยนิยมนำมาเชื่อมและย่าง ทำเป็นขนมมันนึ่งมะพร้าวและน้ำตาล<ref name=":1" /> | ||
=== [[มันเส้นสะอาด (cassava chip)|'''มันเส้นสะอาด''' (cassava chip)]] === | === [[มันเส้นสะอาด (cassava chip)|'''มันเส้นสะอาด''' (cassava chip)]] === | ||
บรรทัดที่ 328: | บรรทัดที่ 328: | ||
=== '''การใช้ประโยชน์จากกากมันสำปะหลังเพื่อผลิตเป็นน้ำตาล''' === | === '''การใช้ประโยชน์จากกากมันสำปะหลังเพื่อผลิตเป็นน้ำตาล''' === | ||
สวลี และคณะ (2555) รายงานว่าประเทศไทยมีผลผลิตมันสำปะหลังเป็นอันดับ 3 ของโลก โดยคิดเป็นประมาณ 12 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณผลผลิตรวมทั้งโลก รองจากประเทศไนจีเรีย และบราซิล และมีผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก ซึ่งมีส่วนแบ่งทางการตลาดไม่ต่ำกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ของทั่วโลก จากกระบวนการผลิตแป้งมันสำปะหลังมีส่วนเหลือเป็นกากมันสำปะหลัง 1.11 เปอร์เซ็นต์ของผลผลิตมันสำปะหลังที่เข้าโรงงานอุตสาหกรรม หรือ ประมาณสองล้านตันต่อปี หากสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จะเป็นการสร้างประโยชน์จากของเหลือทิ้งและลดปัญหาทางมลภาวะกับสิ่งแวดล้อมได้ | สวลี และคณะ (2555)<ref>สวลี ดีประเสริฐ, ศุภชัย บุญนำมา, วิทยา บุตรทองมูล, บุปผา ชินเชิดวงศ์ และ วีระ โลหะ. 2555. การใช้ประโยชน์จากกากมันสำปะหลังเพื่อผลิตเป็นน้ำตาล. งานประชุมวิชาการระดับชาติ. มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 22. 3:39-46.</ref> รายงานว่าประเทศไทยมีผลผลิตมันสำปะหลังเป็นอันดับ 3 ของโลก โดยคิดเป็นประมาณ 12 เปอร์เซ็นต์ของปริมาณผลผลิตรวมทั้งโลก รองจากประเทศไนจีเรีย และบราซิล และมีผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังส่งออกเป็นอันดับ 1 ของโลก ซึ่งมีส่วนแบ่งทางการตลาดไม่ต่ำกว่า 80 เปอร์เซ็นต์ของทั่วโลก จากกระบวนการผลิตแป้งมันสำปะหลังมีส่วนเหลือเป็นกากมันสำปะหลัง 1.11 เปอร์เซ็นต์ของผลผลิตมันสำปะหลังที่เข้าโรงงานอุตสาหกรรม หรือ ประมาณสองล้านตันต่อปี หากสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จะเป็นการสร้างประโยชน์จากของเหลือทิ้งและลดปัญหาทางมลภาวะกับสิ่งแวดล้อมได้ | ||
จากการที่เชื้อจุลินทรีย์ในธรรมชาติจะย่อยสลายสารประกอบอินทรีย์ในกากมันสำปะหลัง โดยกากมันสำปะหลังสามารถนำมาผลิตสารตั้งต้น และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น สารตั้งต้นประเภทน้ำตาลนำไปใช้กับอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม สารให้ความหวาน และผลิตเป็นเอทานอลได้ | จากการที่เชื้อจุลินทรีย์ในธรรมชาติจะย่อยสลายสารประกอบอินทรีย์ในกากมันสำปะหลัง โดยกากมันสำปะหลังสามารถนำมาผลิตสารตั้งต้น และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น สารตั้งต้นประเภทน้ำตาลนำไปใช้กับอุตสาหกรรมอาหาร เครื่องดื่ม สารให้ความหวาน และผลิตเป็นเอทานอลได้ | ||
ลัดดาวัลย์ (2556) รายงานภาพรวมแล้วกากมันสำปะหลังมีโปรตีนอยู่ในช่วง 1.55–3.42 เปอร์เซนต์ ไขมัน 0.12–0.53 เปอร์เซนต์ เถ้า 1.70–5.73 เปอร์เซนต์ เยื่อใย 10.38 – 15.26 เปอร์เซ็นต์ และแป้ง 47.97–68.89 เปอร์เซ็นต์ อย่างไรก็ตามองค์ประกอบทางโภชนาการมีความแปรผันขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น คุณภาพของมันสำปะหลังที่นำมาใช้ในกรรมวิธีการสกัดแป้ง สายพันธุ์มันสำปะหลัง อายุการเก็บเกี่ยว ความสมบูรณ์ของดิน และสภาพแวดล้อมในพื้นที่ปลูก รวมทั้งกระบวนการผลิตที่แตกต่างกันของแต่ละโรงงาน | ลัดดาวัลย์ (2556)<ref>ลัดดาวัลย์ หอกกิ่ง. 2556. ผลของการใช้กากามันสำปะหลังต่อการย่อยได้ของโภชนะ สมรรถนะ การผลิตคุณภาพไข่ คอเลสเตอรอลในไข่แดง และการเปลี่ยนแปลงประชาการจุลินทรีย์ของไก่ไข่. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตสัตว์. 111 หน้า.</ref> รายงานภาพรวมแล้วกากมันสำปะหลังมีโปรตีนอยู่ในช่วง 1.55–3.42 เปอร์เซนต์ ไขมัน 0.12–0.53 เปอร์เซนต์ เถ้า 1.70–5.73 เปอร์เซนต์ เยื่อใย 10.38 – 15.26 เปอร์เซ็นต์ และแป้ง 47.97–68.89 เปอร์เซ็นต์ อย่างไรก็ตามองค์ประกอบทางโภชนาการมีความแปรผันขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น คุณภาพของมันสำปะหลังที่นำมาใช้ในกรรมวิธีการสกัดแป้ง สายพันธุ์มันสำปะหลัง อายุการเก็บเกี่ยว ความสมบูรณ์ของดิน และสภาพแวดล้อมในพื้นที่ปลูก รวมทั้งกระบวนการผลิตที่แตกต่างกันของแต่ละโรงงาน | ||
=== '''Flour''' === | === '''Flour''' === | ||
เป็นแป้งที่ไม่ได้สกัดเยื่อใยออก ผลิตโดยนำหัวมันสดมาปอกเปลือก หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ตากแห้งแล้วป่นให้ละเอียด จากนั้นร่อนด้วยตะแกรงร่อนแป้ง จะได้แป้งดิบที่สามารถนำมาใช้ทำขนมอบชนิดต่าง ๆ ได้คล้ายแป้งสาลี เช่น นำมาทำเค้ก แพนเค้ก ขนมปัง คุกกี้ พาย ใช้ทดแทนแป้งสาลีหรือแป้งข้าวเจ้าได้บางส่วนในอาหารบางชนิด | เป็นแป้งที่ไม่ได้สกัดเยื่อใยออก ผลิตโดยนำหัวมันสดมาปอกเปลือก หั่นเป็นชิ้นเล็ก ๆ ตากแห้งแล้วป่นให้ละเอียด จากนั้นร่อนด้วยตะแกรงร่อนแป้ง จะได้แป้งดิบที่สามารถนำมาใช้ทำขนมอบชนิดต่าง ๆ ได้คล้ายแป้งสาลี เช่น นำมาทำเค้ก แพนเค้ก ขนมปัง คุกกี้ พาย ใช้ทดแทนแป้งสาลีหรือแป้งข้าวเจ้าได้บางส่วนในอาหารบางชนิด<ref name=":1" /> | ||
=== '''[[การใช้มันสำปะหลังเป็นอาหารสัตว์]]''' === | === '''[[การใช้มันสำปะหลังเป็นอาหารสัตว์]]''' === |
การแก้ไข