132
การแก้ไข
(→เมล็ด) |
|||
บรรทัดที่ 319: | บรรทัดที่ 319: | ||
==ผลิตภัณฑ์จากมันสำปะหลัง== | ==ผลิตภัณฑ์จากมันสำปะหลัง== | ||
ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังหลักในประเทศไทย ประกอบไปด้วย มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลังทั้งในรูปของแป้งดิบและแป้งดัดแปร และเอทอนอล ซึ่งทั้งหมดมีการนำไปใช้เป็นวัถตุดิบต่อเนื่องในหลายอุตสาหกรรม ตลาดส่งออกหลักของผลิตภัณฑ์มันเส้น คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งนำเข้ามันเส้นจากไทยมากกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณทั้งหมดที่ส่งออก ส่วนผลิตภัณฑ์มันอัดเม็ดส่วนใหญ่จำหน่ายให้แก่โรงงานอาหารสัตว์หรือผู้ส่งออก โดยมีตลาดหลักคือ สหภาพยุโรป สำหรับแป้งมันสำปะหลังมีการจำหน่ายทั้งภายในและต่างประเทศ ตลาดส่งออกแป้งมันสำปะหลังหลักของไทย ได้แก่ ญี่ปุ่น ไต้หวัน จีน และอินโดนีเซีย | ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังหลักในประเทศไทย ประกอบไปด้วย มันเส้น มันอัดเม็ด แป้งมันสำปะหลังทั้งในรูปของแป้งดิบและแป้งดัดแปร และเอทอนอล ซึ่งทั้งหมดมีการนำไปใช้เป็นวัถตุดิบต่อเนื่องในหลายอุตสาหกรรม ตลาดส่งออกหลักของผลิตภัณฑ์มันเส้น คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งนำเข้ามันเส้นจากไทยมากกว่าร้อยละ 90 ของปริมาณทั้งหมดที่ส่งออก ส่วนผลิตภัณฑ์มันอัดเม็ดส่วนใหญ่จำหน่ายให้แก่โรงงานอาหารสัตว์หรือผู้ส่งออก โดยมีตลาดหลักคือ สหภาพยุโรป สำหรับแป้งมันสำปะหลังมีการจำหน่ายทั้งภายในและต่างประเทศ ตลาดส่งออกแป้งมันสำปะหลังหลักของไทย ได้แก่ ญี่ปุ่น ไต้หวัน จีน และอินโดนีเซีย<ref>ปรารถนา ปรารถนาดี, จิรชัย พุทธกุลสมศิริ, เจริญชัย โขมพัตราภรณ์ และชุมพร มณฑาทิพย์กลุ. 2552. การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ของผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังในประเทศไทย. รายงานวิจัย. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 318 หน้า.</ref> ประเทศไทยเป็นผู้ส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังมากเป็นอับดับหนึ่งของโลก<ref>Food and Agricultural Organization of the United Nations [FAO]. 2009. FAOSTAT. <nowiki>http://faostat.fao.org</nowiki>.</ref> ในปีเพาะปลูก 2550-2551 ประเทศไทยมีปริมาณผลผลิตมันสำปะหลังสูงถึง 25.57 ล้านตัน<ref>สำนักงานเศษฐกิจการเกษตร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 2551ก.สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปี 2550.</ref> ซึ่งปริมาณผลผลิตมันสำปะหลังยังมีแนวโนมจะเพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากความต้องการมันสำปะหลังเพื่อใช้ในประเทศและเพื่อส่งออกยังคงเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง<ref>ปรารถนา ปรารถนาดี, จิรชัย พุทธกุลสมศิริ, เจริญชัย โขมพัตราภรณ์ และชุมพร มณฑาทิพย์กลุ. 2552. การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์ของผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังในประเทศไทย. รายงานวิจัย. สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. 318 หน้า.</ref> | ||
เนื่องจากหัวสำปะหลังมันสดไม่สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน เน่าเสียหายได้ง่าย จึงมักจะมีการแปรรูปเพื่อให้สามารถเก็บไว้บริโภคได้นานวัน มักนำไปหมักก่อนแล้วจึงนำไปปรุงเป็นอาหาร เช่น นึ่ง ทอด ย่าง หรือ นำหัวสดไปบดใส่ถุงทับให้แห้งทิ้งไว้ 4 วัน ระหว่างนั้นจะเกิดการหมัก จากนั้นจึงนำไปทอด หรือ นำไปแช่ในน้ำไหลหลาย ๆ วัน แล้วนำไปนึ่งเพื่อเป็นอาหาร นอกจากใช้เป็นอาหารหลักแล้ว ยังทำอาหารได้หลายรูปแบบ เช่น ทำเป็นแป้งมันเพื่อนำไปประกอบอาหาร หัวสดยังนำมาเป็นมันทอดได้โดยปอกเปลือกแล้วฝานเป็นแผ่นบาง ๆ ก่อนนำไปทอด คนไทยนิยมนำมาเชื่อมและย่าง ทำเป็นขนมมันนึ่งมะพร้าวและน้ำตาล | เนื่องจากหัวสำปะหลังมันสดไม่สามารถเก็บรักษาไว้ได้นาน เน่าเสียหายได้ง่าย จึงมักจะมีการแปรรูปเพื่อให้สามารถเก็บไว้บริโภคได้นานวัน มักนำไปหมักก่อนแล้วจึงนำไปปรุงเป็นอาหาร เช่น นึ่ง ทอด ย่าง หรือ นำหัวสดไปบดใส่ถุงทับให้แห้งทิ้งไว้ 4 วัน ระหว่างนั้นจะเกิดการหมัก จากนั้นจึงนำไปทอด หรือ นำไปแช่ในน้ำไหลหลาย ๆ วัน แล้วนำไปนึ่งเพื่อเป็นอาหาร นอกจากใช้เป็นอาหารหลักแล้ว ยังทำอาหารได้หลายรูปแบบ เช่น ทำเป็นแป้งมันเพื่อนำไปประกอบอาหาร หัวสดยังนำมาเป็นมันทอดได้โดยปอกเปลือกแล้วฝานเป็นแผ่นบาง ๆ ก่อนนำไปทอด คนไทยนิยมนำมาเชื่อมและย่าง ทำเป็นขนมมันนึ่งมะพร้าวและน้ำตาล<ref>สำนักวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน. ม.ป.ป.. มันสำปะหลัง.เอกสารวิชาการฉบับที่ 1001- Do 46.01. กรมพัฒนาที่ดิน. กรุงเทพฯ.: 97 หน้า'''.'''</ref> | ||
=== [[มันเส้นสะอาด (cassava chip)|'''มันเส้นสะอาด''' (cassava chip)]] === | === [[มันเส้นสะอาด (cassava chip)|'''มันเส้นสะอาด''' (cassava chip)]] === |
การแก้ไข