132
การแก้ไข
(→หัวสด) |
(→หัวสด) |
||
บรรทัดที่ 5: | บรรทัดที่ 5: | ||
มันสำปะหลังสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน ตั้งแต่ ใบ ลำต้น ตลอดจนส่วนของราก โดยใช้เป็นอาหาร นำมาแปรรูปในอุตสาหกรรมแป้งและอาหารสัตว์ สำหรับประเทศไทยส่วนใหญ่มักใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมแป้งและอาหารสัตว์ และเป็นสินค้าส่งออกในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ แป้งมันสำปะหลัง แป้งดัดแปร และมันสำปะหลังอัดเม็ด/มันเส้น (ตารางการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของประเทศไทย) ยังมีเพียงส่วนน้อยที่นำมาใช้เป็นอาหารโดยตรง เช่น ขนมมันสำปะหลังเชื่อม ขนมมันทิพย์ ขนมมันนึ่ง เป็นต้น | มันสำปะหลังสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้ทุกส่วน ตั้งแต่ ใบ ลำต้น ตลอดจนส่วนของราก โดยใช้เป็นอาหาร นำมาแปรรูปในอุตสาหกรรมแป้งและอาหารสัตว์ สำหรับประเทศไทยส่วนใหญ่มักใช้ประโยชน์ในอุตสาหกรรมแป้งและอาหารสัตว์ และเป็นสินค้าส่งออกในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ แป้งมันสำปะหลัง แป้งดัดแปร และมันสำปะหลังอัดเม็ด/มันเส้น (ตารางการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังของประเทศไทย) ยังมีเพียงส่วนน้อยที่นำมาใช้เป็นอาหารโดยตรง เช่น ขนมมันสำปะหลังเชื่อม ขนมมันทิพย์ ขนมมันนึ่ง เป็นต้น | ||
[[ไฟล์:ภาพที่1 หัวสด.jpg|thumb| | [[ไฟล์:ภาพที่1 หัวสด.jpg|thumb|176x176px|ภาพหัวสด]] | ||
=== หัวสด === | === หัวสด === | ||
ส่วนหัวของมันสำปะหลัง เป็นส่วนรากที่ขยายใหญ่เพื่อสะสมอาหารที่เป็นแหล่งคาร์โบไฮเดรต ที่สะสมอาหารมีปริมาณแป้งประมาณ 15 – 40 % มีกรดไฮโดรไซยานิก ( HCN )ซึ่งมีพิษ จะมีอยู่มากในส่วนของเปลือกมากกว่าเนื้อของหัว | |||
1. ใช้เป็นอาหาร โดย ต้ม นึ่ง ย่าง อบ เชื่อม ตลอดถึงการนำมาหมักคลุกน้ำมันผสมเครื่องเทศ ถั่วลิสง หรือนำมาทำเป็นแป้งแล้วแปรรูปเป็นอาหารชนิดต่าง ๆ ตลอดจนนำมาฝานเป็นแผ่นบาง ๆ แล้วทอด | 1. ใช้เป็นอาหาร โดย ต้ม นึ่ง ย่าง อบ เชื่อม ตลอดถึงการนำมาหมักคลุกน้ำมันผสมเครื่องเทศ ถั่วลิสง หรือนำมาทำเป็นแป้งแล้วแปรรูปเป็นอาหารชนิดต่าง ๆ ตลอดจนนำมาฝานเป็นแผ่นบาง ๆ แล้วทอด | ||
บรรทัดที่ 15: | บรรทัดที่ 17: | ||
[[ไฟล์:ภาพใบมันสำปะหลัง.jpg|thumb| | [[ไฟล์:ภาพใบมันสำปะหลัง.jpg|thumb|163x163px|ภาพใบมันสำปะหลัง]] | ||
=== ใบ === | |||
ลักษณะใบมันสำปะหลัง เป็นแบบใบเดี่ยว การเกิดของใบจะหมุนเวียนรอบลำต้นก้านใบอาจมีสีเขียวหรือสีแดง ตัวใบหรือแผ่นใบ จะเว้าเป็นหยักลึกเป็นแฉกจำนวนหยักมีตั้งแต่ 3-9 หยัก | |||
ใช้เป็นอาหารสัตว์ โดยใช้ใบสด หรือ ใบตากแห้งป่นผสมกับอาหารข้นเลี้ยงสัตว์ | ใช้เป็นอาหารสัตว์ โดยใช้ใบสด หรือ ใบตากแห้งป่นผสมกับอาหารข้นเลี้ยงสัตว์ | ||
[[ไฟล์:ลำต้นมันสำปะหลัง.jpg|thumb|142x142px|ภาพลำต้นมันสำปะหลัง]] | [[ไฟล์:ลำต้นมันสำปะหลัง.jpg|thumb|142x142px|ภาพลำต้นมันสำปะหลัง]] | ||
=== ลำต้น === | |||
ลำต้นของมันสำปะหลังเป็นลำต้นตั้งตรง สีของลำต้นแตกต่างกันไปตามพันธุ์ ส่วนที่อยู่ใกล้ยอดมีสีเขียว ส่วนแก่ที่ต่ำลงมาอาจมีสีน้ำเงิน สีเหลือง หรือสีน้ำตาล | |||
1. เป็นท่อนพันธุ์สำหรับขยายพันธุ์ | |||
2. เป็นอาหารสัตว์ โดยใช้ส่วนยอดสำหรับเลี้ยงสัตว์เคี้ยวเอื้อง โดยนำมาตากแห้งเป็นอาหารหยาบ | |||
บรรทัดที่ 35: | บรรทัดที่ 38: | ||
=== เมล็ด === | === เมล็ด === | ||
เมล็ดมันสำปะหลัง มีรูปร่างยาวรี มีสีน้ำตาล และมีลายดำ เมื่อแก่จะแตกดีดจากผลทำให้เมล็ดกระเด็นออกไป | |||
1. ใช้สกัดน้ำมันที่มีคุณภาพดีสามารถนำไปใช้ในอุตสาหกรรมยาได้ | 1. ใช้สกัดน้ำมันที่มีคุณภาพดีสามารถนำไปใช้ในอุตสาหกรรมยาได้ | ||
2. สำหรับนักปรับปรุงพืชอาจนำมาใช้สำหรับการปรับปรุงพันธุ์ | 2. สำหรับนักปรับปรุงพืชอาจนำมาใช้สำหรับการปรับปรุงพันธุ์ เพื่อให้ได้พันธุ์ที่ดีต่อไป | ||
การแก้ไข